Page 23 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 23

สื่อการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์จ�ำแนกตามวิธีสอน 5-13

       ในกรณีเน้ือหาหรือสาระส�ำคัญอ่ืน ๆ กับสิ่งท่ีผู้เรียนรู้จักที่มีลักษณะเป็นนามธรรมและต้องการให้
ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ ผู้สอนอาจใช้ส่ือท่ีมีลักษณะเปรียบเทียบให้ผู้เรียนได้คิดเช่ือมโยงและเกิดความเข้าใจ
เน้ือหาหรือสาระส�ำคัญที่เป็นนามธรรมนั้นได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

       ตัวอยา่ งที่ 2.5 ในกรณีที่ผู้สอนวิธีเคมีต้องการสอนสาระส�ำคัญเร่ืองอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ส่วน
ที่เก่ียวข้องกับพ้ืนที่ผิวสัมผัสของสารว่าการเพ่ิมผิวสัมผัสของสารจะท�ำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพ่ิมข้ึน
ผู้สอนเลือกใช้สื่อ ได้แก่ ยางลบท่ีเป็นก้อนส่ีเหลี่ยม ปากกาเมจิก และกระดาษเปล่าสีขาว โดยให้ผู้เรียนใช้
ปากกาเมจิกทาลงไปโดยรอบทุกด้านท้ัง 6 ด้านของก้อนยางลบแล้วพิมพ์ลงบนกระดาษเปล่าสีขาวให้ได้พื้นท่ี
ทั้งหมดท่ีต่อเน่ืองกัน ผู้เรียนจะเห็นปริมาณพื้นท่ีทั้งหมดของพื้นที่ผิวก้อนยางลบท้ัง 6 ด้าน ต่อมาผู้สอนน�ำ
ก้อนยางลบอีกก้อนหนึ่งท่ีมีขนาดเท่ากับก้อนแรกมาผ่าออกเป็นยางลบสี่เหลี่ยม 2 ก้อน น�ำมาทาสีและพิมพ์
สีลงบนกระดาษแบบเดียวกันเพื่อแสดงพ้ืนท่ีผิวท้ังหมดเปรียบเทียบกับพ้ืนท่ีผิวของยางลบเต็มก้อนท่ี
ไม่ได้แบ่ง ดังภาพที่ 5.1 และภาพที่ 5.2

    1  6

52        3

    4

1 43
2 65

ภาพที่ 5.1 พนื้ ทผ่ี ิวยางลบก้อนใหญ่

14           7 10
5 2 3 11 8 9

6 12

1 2 3 10 7 11
6 4 5 8 12 9

ภาพท่ี 5.2 พื้นทผี่ วิ ยางลบท่ถี กู แบง่ เป็น 2 กอ้ นเลก็
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28