Page 24 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 24

5-14 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       จากรูปที่น�ำเสนอผู้เรียนจะเห็นได้ชัดเจนว่าเมื่อท�ำให้ยางลบก้อนเดิมมีขนาดเล็กลงจะท�ำให้ยางลบ
ก้อนเดิมมีปริมาณพื้นท่ีผิวเพิ่มมากขึ้น และถ้าให้แบ่งยางลบที่ถูกแบ่งแล้วแบ่งให้เล็กลงไปอีกแล้วให้หมึก
พิมพ์ทุกด้านลงในกระดาษก็จะพบว่ามีพ้ืนที่ผิวเพิ่มมากข้ึนอีก ท�ำให้ผู้เรียนเกิดความคิดเชื่อมโยงเกิดความ
เข้าใจสาระส�ำคัญที่ต้องการสอนดังกล่าวข้างต้นได้ สื่อที่ใช้นี้จึงเรียกว่าเป็นส่ือท่ีมีลักษณะเปรียบเทียบ และ
ผสู้ อนสามารถใชว้ ธิ ดี งั กลา่ วนกี้ บั การสรา้ งสถานการณใ์ หผ้ เู้ รยี นไดส้ ำ� รวจและคน้ พบความรอู้ น่ื ๆ ทม่ี ลี กั ษณะ
เป็นนามธรรมได้เช่นกัน

       นอกจากนี้ยังมีสื่อท่ีมีลักษณะเปรียบเทียบอีกตัวอย่างหนึ่งท่ีน่าสนใจ
       ตวั อยา่ งที่ 2.6 ในกรณีที่ผู้สอนเรื่องสมบัติของสารในเนื้อหาความแตกต่างด้านการรักษารูปร่างและ
ปริมาตรของสารท่ีมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เนื่องจากการมีการจัดเรียงของอนุภาคที่ต่างกัน
โดยผู้สอนจัดท�ำส่ือที่มีลักษณะเปรียบเทียบกับลักษณะการจัดเรียงของอนุภาคภายในสารท่ีเป็นของแข็ง
ของเหลว และแก๊ส โดยน�ำขวดใส 3 ขวด บรรจุเมล็ดถั่วเขียว ขวดใบที่ 1 ใส่เมล็ดถั่วเขียวให้แน่นเต็มขวด
แล้วปิดฝาแทนอนุภาคของแข็ง ขวดใบท่ี 2 ใส่เมล็ดถ่ัวเขียวคร่ึงขวดแล้วปิดฝาแทนอนุภาคของเหลว และ
ขแวลดะสใบังเกทตี่ 3กใาสร่เเมคลล็ื่อดนถไั่วหว41ขอขงวเดมลแ็ดลถ้ว่ัวปภิดาฝยาใแนทขนวดอนทุภ้ังสาคามขใอบงแแกล๊สะตใ้ังนคข�ำณถะามเรใียหน้ผรู้เู้ใรหีย้ผนู้เคริดียเนชเื่อขมยโ่ายขงวดแแลตะเ่ลขะ้าใใบจ
ได้ถึงเหตุผลท่ีท�ำให้สารท่ีเป็นของแข็งสามารถรักษารูปร่างและปริมาตรได้คงท่ี ในขณะที่ของเหลวรักษา
ปริมาตรให้คงที่ได้แต่รูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่ใส่ และแก๊สไม่สามารถรักษาปริมาตรและรูปร่างได้
เนื่องจากมีลักษณะของการจัดเรียงของอนุภาคภายในต่างกัน ดังภาพท่ี 5.3

ของแขง็  เขยา

ของเหลว  เขยา

      แกส เขยา
ภาพท่ี 5.3 แบบจำ� ลองอนภุ าคของแข็ง ของเหลว และแกส๊
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29