Page 53 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 53
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา 1-43
จ�ำนวน 12 ข้อ มีดัชนีค่าความยากง่าย 0.46-0.59 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก 0.60-0.80 แบบทดสอบรูปแบบท่ี 3
ท่ีคัดเลือกแล้วจ�ำนวน 12 ข้อ มีดัชนีค่าความยากง่าย 0.45-0.63 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก 0.58-0.72
3. ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ ท่ีมีอัตราส่วนการผสมรูปแบบของแบบทดสอบท่ีแตกต่างกัน
ดงั น้ี แบบทดสอบฉบบั ที่ 1 อตั ราการผสมแบบทดสอบ 1 : 1 : 1 มคี า่ ความเทย่ี ง 0.891 แบบทดสอบฉบบั ท่ี 2
อัตราการผสมข้อสอบ 1 : 2 : 1 มีค่าความเที่ยง 0.901 และแบบทดสอบฉบับที่ 3 อัตราการผสมแบบทดสอบ
1 : 1 : 2 มีค่าความเท่ียง 0.952
4. แบบทดสอบที่มีการผสมรูปแบบที่แตกต่างกันทั้ง 3 ฉบับ มีค่าสัมประสิทธ์ิการสรุปอ้างอิง ดังน้ี
ฉบับท่ี 1 ผสมตามอัตราส่วน 1 : 1 : 1 พบว่าสัมประสิทธ์ิการสรุปอ้างอิง เท่ากับ 0.966
ฉบบัที่ 2 ผสมตามอัตราส่วน 1 : 2 : 1 พบว่าสัมประสิทธ์ิการสรุปอ้างอิง เท่ากับ 0.975
ฉบบัท่ี 3 ผสมตามอัตราส่วน 1 : 1 : 2 พบว่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง เท่ากับ 0.961
ตัวอย่างที่ 2 เป็นการวิจัยเพ่ือพัฒนาเคร่ืองมือวัด เน้นการศึกษาคุณภาพของเครื่องมือวัดผล
การศึกษาที่มีเงื่อนไขการสร้างต่างกันตามทฤษฎีแนวใหม่
ชอ่ื เรอื่ ง การเปรยี บเทยี บคณุ สมบตั ทิ างจติ มติ ขิ องแบบสอบทบ่ี รู ณาการระหวา่ งตวั ชว้ี ดั ความสามารถ
ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กับตัวช้ีวัดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีมีวิธีการ
ทบทวนข้อสอบที่แตกต่างกัน (พิมพิศา สว่างศรี, 2558)
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางจิตมิติของแบบทดสอบที่บูรณาการระหว่าง
ตัวช้ีวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กับตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีมีวิธีการทบทวนข้อสอบท่ีแตกต่างกัน
ตวั อย่างทใ่ี ชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จ�ำนวน 750 คน เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ น
การวิจยั คือ แบบสอบบูรณาการระหว่างตัวช้ีวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กับตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบ่งเป็นข้อสอบชุด A (ทบทวนข้อสอบด้วยตนเอง) และ
ข้อสอบชุด B (ทบทวนข้อสอบร่วมกับกลุ่มคณะกรรมการ)
เก็บข้อมูลโดยน�ำแบบสอบไปวัดกับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
วิเคราะห์ข้อมูลโดยการตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติของแบบสอบ คือ ความตรงเชิงเนื้อหา ความเท่ียง
ฟังก์ชันสารสนเทศของข้อสอบ ฟังก์ชันสารสนเทศของแบบทดสอบ ความยาก และอ�ำนาจจ�ำแนก
ผลการวิจยั พบว่า
1. ผลการวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาของข้อค�ำถามที่สร้างและผ่านการทบทวนท้ังหมด โดยใช้
เกณฑ์การตรวจสอบที่ก�ำหนด พบว่า แบบสอบท้ังหมดมีความสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินในระดับมาก
แสดงว่าข้อค�ำถามท้ังหมดมีความตรงเชิงเนื้อหา
2. ผลการวเิ คราะหค์ วามเทย่ี งโดยใชว้ ธิ สี มั ประสทิ ธแิ์ อลฟาของครอนบาค พบวา่ โรงเรยี นขนาดเลก็
มีค่าความเท่ียงของแบบสอบชุด A และแบบสอบชุด B อยู่ในระดับตํ่า ท้ัง 2 ชุด เม่ือทดสอบความแตกต่าง
ของค่าสัมประสทิ ธ์ิแอลฟาเป็นรายคู่ พบว่า คา่ สัมประสทิ ธิ์แอลฟาของแบบสอบทั้ง 2 ชุด ไม่แตกต่างกันอย่าง