Page 57 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 57

แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา 1-47

       เครอ่ื งมือวจิ ยั ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จํานวน 3 ฉบับ แบบสัมภาษณ์
จํานวน 2 ฉบับ และแบบสํารวจเอกสาร จํานวน 1 ฉบับ

       การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
       ผลการวจิ ัย พบว่า
       1. 	ด้านปัจจัยเบ้ืองต้นของนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา นักเรียน และครู อาจารย์
มีความคิดเห็นในด้านปัจจัยเบื้องต้นของนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง
       2. 	ด้านกระบวนการด�ำเนินงานของนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา นักเรียน และ
ผู้ปกครอง เห็นว่าในด้านกระบวนการดําเนินงานของนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษามีการปฏิบัติ
อยู่ในระดับมาก ส่วนครู อาจารย์ เห็นว่าอยู่ในระดับปานกลาง
       3. 	ด้านผลการดําเนินงานของนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และ
ครู อาจารย์ เห็นว่าในด้านผลการด�ำเนินงานของนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษาอยู่ในระดับมาก
       4. 	ด้านผลกระทบ จากการดําเนินงานตามนโยบายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ผู้ปกครอง
และครู อาจารย์ เห็นว่ามีผลกระทบทางลบมากกว่าผลกระทบทางบวก

       ตัวอยา่ งที่ 6 เป็นการวิจัยเชิงประเมิน ประเภทประเมินระบบการด�ำเนินงาน โดยใช้โมเดลเชิงระบบ
ดังนั้นการวิจัยเร่ืองน้ีต้องประกอบด้วยการประเมินปัจจัยน�ำเข้า กระบวนการ และผลผลิต

       ช่ือเร่ือง การประเมินระบบการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ
แห่งชาติ (TQA) ของโรงเรียนสตรีวิทยา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีมัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
(ยิ่งขวัญ เช่ือมโนชาญ, 2558)

       วัตถุประสงค์การวจิ ยั
       1. 	เพื่อประเมินระบบการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ
การศกึ ษาแหง่ ชาติ (TQA) ของโรงเรยี นสตรวี ทิ ยา โดยตรวจสอบระดบั คณุ ภาพดา้ นปจั จยั นาํ เขา้ กระบวนการ
และผลผลิต
       2. 	เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อการบริหารงาน
       ผใู้ ห้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้ปกครองระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 จํานวน
รวมท้ังส้ิน 655 คน
       เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ เปน็ แบบสอบถามชนดิ มาตรประมาณคา่ จาํ นวน 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ แบบสอบถามผบู้ รหิ าร
และครู แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง โดยมี
ค่าความเท่ียงเท่ากับ 0.79, 0.73 และ 0.78 ตามลําดับ
       การวิเคราะหข์ อ้ มูล ใช้ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
       ผลการวจิ ัย พบว่า
       1.	 ด้านปัจจัยนําเข้า ในภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก แต่บุคลากรครูยังไม่เพียงพอต่อจํานวน
รายวิชาท่ีเพิ่มข้ึน และครูรุ่นใหม่ยังไม่มีความชํานาญในการจัดการเรียนการสอน จึงควรพัฒนาครูรุ่นใหม่
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62