Page 101 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 101
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2-91
มาสังเคราะห์ได้ เน่ืองจากนักวิจัยมักจะเก็บรายงานวิจัยประเภทนี้ไว้ในลิ้นชักไม่ส่งพิมพ์เผยแพร่
นักสังเคราะห์งานวิจัยเรียกปัญหาความล�ำเอียงประเภทนี้ว่าปัญหาจากไฟล์ในล้ินชัก (file drawer problem)
จากสาระด้านการจัดหมวดหมู่วรรณกรรมท้ัง 3 แบบ ท่ีน�ำเสนอข้างต้น ผู้อ่านจะเห็นได้ว่า การจัด
หมวดหมู่วรรณกรรมแบบท่ี 2 การจัดหมวดหมู่ตามลักษณะของเน้ือหาสาระในวรรณกรรม มี ‘วรรณกรรม
ประเภทงานวิจัยมีเน้ือหาตามสาขาวิชาการวิจัย’ โดยเฉพาะ ‘วรรณกรรมประเภทงานวิจัยด้านการวัดและ
ประเมินผลการศึกษา’ เป็นวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระใน ‘หน่วยท่ี 2 ตอน 2.2 กระบวนการ
ทบทวนวรรณกรรมการวัดและประเมินผลการศึกษา’ และ ‘เร่ืองท่ี 2.2.3 ตัวอย่างกระบวนการทบทวน
วรรณกรรมการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา’ โดยตรง ดงั นนั้ ในตอนนผ้ี เู้ ขยี นจงึ เสนอสาระดา้ น ‘วรรณกรรม
ประเภทงานวจิ ยั ดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา หรอื วรรณกรรมดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา’
เพ่ือให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจตรงกันตามหลักวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา และสามารถน�ำ
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการทบทวนวรรณกรรมได้อย่างเหมาะสมถูกต้องต่อไป
3. วรรณกรรมดา้ นการวดั และประเมินผลการศกึ ษา
ค�ำว่า “วรรณกรรมประเภทงานวิจัยด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา” เป็นค�ำที่มีความหมาย
กว้างครอบคลุมสาระทั้งด้าน ‘การวัด (measurement)’ ‘การประเมิน (assessment)’ ซึ่งมีความหมาย
คล้ายคลึงกับค�ำว่า ‘การประเมินค่า (appraisal)’ และ ‘การประเมินผล’ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ‘การประเมิน
(evaluation)’
ก่อนที่จะท�ำความเข้าใจวรรณกรรมด้านนี้ จึงควรต้องเข้าใจความหมายของค�ำดังกล่าวก่อนดังนี้
Kizlik (2012) ระบุว่า นักศึกษาครูทุกคนควรต้องเข้าใจความแตกต่างพื้นฐานระหว่างค�ำศัพท์ การวัด การ
ประเมิน และการประเมินผล เพราะมีความส�ำคัญต่อการท�ำหน้าท่ีครู Huitt, Hummel, & Kaeck, 2001;
Kizlik, 2012, 2019; และ Wiersma & Jurs, 1990 ระบุว่า นักการศึกษาและครูผู้สอนทุกคนให้ความส�ำคัญ
แก่ ‘การทดสอบ (test), การวัด (measurement), การประเมิน (assessment) และการประเมินผล หรอื การ
ประเมนิ (evaluation)’ ตามหน้าที่ครูผู้สอนหลายด้าน โดยเฉพาะ 1) ด้านการวัดและประเมิน (assessment)
ความรู้ก่อนเร่ิมเรียน เพื่อครูผู้สอนสามารถวางแผนการเรียนการสอนได้เหมาะสมตามสมรรถนะ
ผู้เรียน 2) ด้านการติดตาม (follow up) ผลการจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน และด้านการประเมิน
(assessment) เพื่อวินิจฉัยและพัฒนาผู้เรียนทุกประเภทและทุกระดับการศึกษา เพ่ือให้ทราบประเด็นที่ต้อง
แก้ไขปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายท่ีก�ำหนด 3) ด้านการประเมินผลหรือการประเมิน
(evaluate) เพื่อประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทั้งรายวิชา หลักสูตร และการตรวจสอบผลการประยกุ ต์
ใช้การแทรกแซง (intervention) หรือการจัดกระท�ำ (treatment) ที่เป็นนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะ
ทางพุทธศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษาของผู้เรียน ตลอดจนการประเมินผลหรือการประเมิน
โครงการพฒั นาบคุ ลากรทางการศกึ ษา วา่ ไดผ้ ลการพฒั นาตรงตามความตอ้ งการหรอื ไม่ อยา่ งไร ตอ้ งปรบั ปรงุ
พัฒนาการแทรกแซง หรือการจัดกระท�ำในประเด็นใด และอย่างไร เพื่อให้ได้วิธีการใหม่ ๆ ที่มีคุณค่าน�ำไป
ใช้ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนต่อไป และ 4) ด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนาเคร่ืองมือ และเพ่ือพัฒนากระบวนการ