Page 98 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 98
2-88 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
วิจัย (research articles) 4) บทความสังเคราะห์งานวิจัยที่ลงพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ (academic
journal) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (electronics journal) และ 5) รายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (research
report and dissertation) ท่ีเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
2.1.3 วรรณกรรมทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Literature) เปน็ วรรณกรรมทผี่ ู้เขยี น/ผแู้ ต่ง/ผจู้ ัดท�ำ ได้
ศึกษาค้นคว้าผลงานวิชาการจากวรรณกรรมปฐมภูมิหลายรายการ แล้วน�ำมาสังเคราะห์เรียบเรียงเสนอ
ผลการศกึ ษาในรปู ของผลงานวชิ าการโดยมไิ ดศ้ กึ ษาหรอื ทำ� วจิ ยั ดว้ ยตนเอง เนอ้ื หาสาระในวรรณกรรมทตุ ยิ ภมู ิ
จัดว่าเป็นเน้ือหาสาระมือสอง เป็นเนื้อหาสาระท่ีผ่านการกล่ันกรองเรียบเรียงโดยผู้จัดท�ำวรรณกรรม อาจมี
เน้ือหาสาระบางส่วนที่เป็นข้อค้นพบใหม่จากการสังเคราะห์เปรียบเทียบ แต่ส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาสาระจาก
วรรณกรรมปฐมภูมิท่ีน�ำมาศึกษา จึงถือว่าวรรณกรรมประเภทน้ีเป็นขอ้ มลู แหลง่ ทตุ ยิ ภมู ิ (secondary source
of data) แม้ว่าความน่าเช่ือถือความถูกต้องของวรรณกรรมทุติยภูมิอาจด้อยกว่าวรรณกรรมปฐมภูมิ แต่
วรรณกรรมทุติยภูมิให้สารสนเทศท่ีมีการจัดระเบียบเป็นหมวดหมู่และมีการสังเคราะห์อย่างดี ซ่ึงช่วยให้
นักวิจัยติดตามองค์ความรู้ท่ีตนสนใจโดยใช้เวลาน้อยกว่าปกติ
วรรณกรรมทุติยภูมิท่ีใช้กันมากในวงการวิจัย ประกอบด้วยวรรณกรรม 5 ประเภท ดังนี้
1) หนังสือประเภทต�ำรา (textbooks) และคู่มือ (handbooks) ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่จัดท�ำขึ้นโดยใช้ข้อมูล
จากผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการท่ีเป็นวรรณกรรมปฐมภูมิ 2) พจนานุกรม (dictionary) 3) สารานุกรม
(encyclopedia) 4) ปริทัศน์งานวิจัย (research review) ตัวอย่างวารสารที่พิมพ์เผยแพร่บทความวิชาการ
ทเี่ ปน็ การปรทิ ศั นง์ านวจิ ยั ไดแ้ ก่ Comparative Education Review, Review of Educational Research,
Psychological Review, และวารสารตามรายชอ่ื ทผี่ เู้ ขยี นไดเ้ สนอวารสารประเภทปรทิ ศั นง์ านวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
กับการวัดและการประเมินทางการศึกษาในตอนที่ 2.1 และ 5) ส่ือส่ิงพิมพ์อื่น ๆ (other printed materials)
เช่น หนังสือพิมพ์ ซ่ึงแยกได้เป็น 2 แบบ แบบที่รายงานข่าวสารเกี่ยวกับการวิจัยโดยผู้สื่อข่าวโดยตรง
กรณีผู้ส่ือข่าวผู้มีประสบการณ์ตรงกับเหตุการณ์เขียนรายงานข่าวเอง หนังสือพิมพ์ฉบับน้ันเป็นวรรณกรรม
ปฐมภูมิ แต่แบบที่สองกรณีที่ข่าวสารในหนังสือพิมพ์นั้นเป็นรายงานข่าวท่ีผ่านการขัดเกลา/ปรับปรุง
โดยบรรณาธิการข่าว หรือผ่านผู้สื่อข่าวหลายทอด หนังสือพิมพ์ฉบับน้ันเป็นวรรณกรรมทุติยภูมิ
2.2 การจดั หมวดหมตู่ ามลกั ษณะของเนอ้ื หาสาระในวรรณกรรม นกั วจิ ยั ใชล้ กั ษณะของเนอ้ื หาสาระ
ในวรรณกรรมเป็นเกณฑ์ในการจัดประเภทวรรณกรรม เพื่อความสะดวกในการค้นคว้าและการน�ำเสนอ
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย การจัดหมวดหมู่วรรณกรรมตามลักษณะเนื้อหาสาระ มีการจัด
แยกประเภทได้ 2 แบบ คือ แบบแรก วรรณกรรมประเภทงานวิจัย และแบบที่สอง วรรณกรรมประเภท
ไม่ใช่งานวิจัย วรรณกรรมท้ังสองประเภทมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
2.2.1 วรรณกรรมประเภทงานวิจัย เป็นวรรณกรรมที่เป็นผลงานวิชาการประเภทงานวิจัย
ทั้งหมดทุกชนิด ตัวอย่างของวรรณกรรมประเภทงานวิจัย ได้แก่ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย บทคัดย่องาน
วจิ ยั (research abstract) บทความวจิ ยั รายงานการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั (research synthesis) และรายงาน
ปริทัศน์งานวิจัย (research review) เป็นต้น ประเดน็ ทนี่ า่ สงั เกตเกย่ี วกบั รายงานการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั คือ
รายงานดังกล่าวมีท้ังประเภทวรรณกรรมปฐมภูมิ และวรรณกรรมทุติยภูมิ กล่าวคือ รายงานการสังเคราะห์