Page 107 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 107

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 2-97

       ผู้อ่านจะเห็นได้ว่า การประเมิน (assessment) และการประเมิน(ผล) (evaluation) มีความหมาย
ใกลเ้ คยี งกนั ในทนี่ ผี้ เู้ ขยี นจงึ นำ� เสนอสรปุ สาระดา้ นผลการเปรยี บเทยี บความหมายและลกั ษณะตามธรรมชาติ
ท่ีแตกต่างกัน ระหว่างการประเมิน และการประเมิน(ผล) จากเอกสาร Ajayi (2018); Huitt, Hummel &
Kaeck (2001); Kizlik (2019); Surbhi (2017) เพื่อผู้อ่านใช้ประโยชน์ต่อไปโดยเสนอประเด็นการเปรียบ
เทียบรวม 9 ประเด็น ดังตารางที่ 2.2

           ตารางที่ 2.2 การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งการประเมิน และการประเมนิ (ผล)

ประเดน็ เปรยี บเทยี บ  การประเมนิ (assessment)                การประเมนิ (ผล) (evaluation)

1. ความหมาย            เป็นกระบวนการรวบรวม ทบทวน และ          เป็นกระบวนการบรรยายผลการปฏิบัติ
                       ใช้ข้อมูลท่ีได้เพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติ  และตัดสินคุณค่าตามเกณฑ์มาตรฐานท่ี
                       ในปัจจุบันให้มีคุณภาพดีขึ้น            ก�ำหนด รวมทั้งข้อเสนอแนะในการ
                                                              พัฒนาต่อไป

2. ธรรมชาติ            เพื่อวินิจฉัย (diagnose)               เพ่ือตัดสิน (judge)

3. การด�ำเนินงาน       การประเมิน และการให้ข้อมูลป้อนกลับ การพิจารณาตัดสินว่า การด�ำเนินงานมี

                       (feedback) ด้านผลการปฏิบัติ            ประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์ท่ีก�ำหนด

                       และแนวทางการพัฒนา                      ไว้มากน้อยเพียงใด

4. จุดมุ่งหมาย         การประเมินระหว่างการด�ำเนินงาน การประเมินแบบรวบยอด (ส่วนใหญ่)

5. จุดเน้น             การประเมินกระบวนการด�ำเนินงาน          การประเมินผลการด�ำเนินงาน
                                                              (ส่วนใหญ่)

6. ข้อมูลป้อนกลับ      ข้อมูลจากการสังเกต ประเด็นบวก          ระดับคุณภาพการประเมินตามเกณฑ์
                       และลบ                                  มาตรฐาน

7. ความสัมพันธ์ระหว่าง การรับฟังความคิดสะท้อนแบบไตร่ตรอง การก�ำหนดแนวคิดร่วมกัน
  สมาชิกในคณะท�ำงาน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

8. เกณฑ์การประเมิน ก�ำหนดโดยผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน ก�ำหนดโดยนักประเมิน

9. มาตรฐานการวัด       มาตรฐานแบบสมบูรณ์ เพื่อเป็นแนวทาง มาตรฐานเชิงเปรียบเทียบ มุ่งจ�ำแนก

                       ในการพัฒนาผลลัพธ์                      เด็กเก่ง และเด็กอ่อน

ท่ีมา: 	 Ajayi, (2018); Huitt, Hummel, & Kaeck, (2001); Kizlik, (2019); Surbhi, (2017).
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112