Page 112 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 112

2-102 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

       ในการระบุลักษณะ ประเภท และแหล่งวรรณกรรมที่เก่ียวข้องน้ี วัตถุประสงค์การค้นคว้า
วรรณกรรมจะเป็นเครื่องชี้น�ำประเภท ลักษณะ และแหล่งวรรณกรรมท่ีนักวิจัยต้องการ ดังกรณีตัวอย่าง
ต่อไปนี้ กรณีที่หน่ึง นักวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้สารสนเทศช่วยกระตุ้นให้เกิดแนวความคิดท่ีจะท�ำ
การวิจัย หรือก�ำหนดปัญหาวิจัยท่ีดี วรรณกรรมท่ีต้องการเป็นวรรณกรรมประเภทพ้ืนฐานที่เป็นภาพรวม
ใหส้ ารสนเทศทเ่ี ปน็ ความรขู้ น้ั ตน้ เกยี่ วกบั เรอื่ งทจ่ี ะทำ� การวจิ ยั ไดแ้ ก่ สารานกุ รม ปรทิ ศั นง์ านวจิ ยั และรายงาน
วจิ ยั เปน็ ตน้ แหลง่ วรรณกรรมทดี่ คี อื หอ้ งสมดุ และการใชก้ ลไกการสบื คน้ กรณที สี่ อง นกั วจิ ยั มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้ได้สารสนเทศส�ำหรับการสร้างกรอบแนวคิดส�ำหรับการวิจัย และก�ำหนดสมมติฐานวิจัย วรรณกรรม
ท่ีต้องการได้แก่วรรณกรรมประเภท หนังสือ ต�ำรา บทความทางวิชาการ ปริทัศน์งานวิจัย และรายงานวิจัย
แหล่งวรรณกรรมท่ีดีคือ ห้องสมุด และการใช้กลไกการสืบค้น และกรณีที่สาม นักวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ
ให้ได้สารสนเทศมาใช้ก�ำหนดแผนแบบการวิจัย และวิธีด�ำเนินงานวิจัย ในกรณีน้ีวรรณกรรมที่ต้องการได้แก่
วรรณกรรมประเภท ต�ำราวิธีวิทยาการวิจัย รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ แหล่งวรรณกรรมที่ดีคือ ห้องสมุด

       นอกจากการใช้ ‘วัตถุประสงค์การค้นคว้าวรรณกรรม’ เป็นเคร่ืองช้ีน�ำประเภท ลักษณะ และแหล่ง
วรรณกรรมที่นักวิจัยต้องการแล้ว นักวิจัยอาจก�ำหนดรูปแบบการวิจัยท่ีต้องการท�ำควบคู่ไปกับวัตถุประสงค์
การวิจัย ใช้เป็นเครื่องชี้น�ำประเภท ลักษณะ และแหล่งวรรณกรรมที่นักวิจัยต้องการได้ด้วย เช่น ในกรณีที่
นักวิจัยต้องการท�ำ ‘การวิจัยด้านการประเมิน (evaluation)’ โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ ‘ประเมิน
โครงการ (project evaluation)’ นักวิจัยอาจใช้ค�ำส�ำคัญ ‘การประเมินโครงการ (project evaluation)’
เป็น ‘ค�ำค้น’ ย่อมช่วยให้นักวิจัยประหยัดเวลาในการค้นคืนเอกสารได้ด้วย

3. 	ขั้นการสบื ค้น คัดเลือก และจดั หาวรรณกรรม

       กจิ กรรมทน่ี กั วจิ ยั ตอ้ งดำ� เนนิ การ หลงั จากการระบลุ กั ษณะ ประเภท และแหลง่ วรรณกรรมทต่ี อ้ งการ
ได้แล้ว คือ การสืบค้น การคัดเลือก และการจัดหาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับการวิจัย แต่ละกิจกรรมมี
แนวทางการปฏิบัติดังต่อไปนี้

        3.1 การสบื คน้ วรรณกรรม กิจกรรมการสืบค้นวรรณกรรม หมายถึงการศึกษาหาข้อมูลเพ่ือให้ได้
รายละเอียดด้านบรรณานุกรมของวรรณกรรมท่ีนักวิจัยต้องการ วิธีการสืบค้นท�ำได้ 2 วิธี คือ วิธีการสืบค้น
ด้วยมือ และวิธีการสืบค้นโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลายแบบ เช่น “โปรแกรม EndNote (http://
www.endnoteweb.com) โปรแกรม ReadCube (http://www.readcube.com) โปรแกรม Mendeley
(http://www.mendeley.com) โปรแกรม Docear (http://www.docear.org) วิธีการสืบค้นท้ังสองวิธีมี
หลักการและวิธีการคล้ายกันสรุปได้ 3 ข้ัน (Adams & Schvaneveldt, 1991; Cash, 1983; Dooley, 1990;
Neuman, 1991; Reed & Baxter, 2009) ดังน้ี

            3.1.1 การกำ� หนดค�ำส�ำคัญหรอื ค�ำคน้ (Keywords or Descriptors) เนื่องจากกลไกการสืบค้น
วรรณกรรมไม่ว่าจะเป็นวรรณกรรมฉบับพิมพ์ (hard copy) หรือวรรณกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (electronics
copy) มีระบบจัดเก็บวรรณกรรมแยกเป็น 3 แบบ คือ การจัดเก็บตามช่ือผู้แต่ง การจัดเก็บตามค�ำส�ำคัญ
(keywords) ในช่ือวรรณกรรม และการจัดเก็บตามสาขาวิชา ดังนั้นการสืบค้นวรรณกรรมจึงอาจใช้ช่ือผู้แต่ง
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117