Page 26 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 26
7-16 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
วัตถุประสงค์ข้างต้นน�ำมาสรุปเป็นองค์ประกอบใหญ่เพื่อกระจายน้ําหนักความส�ำคัญซึ่งน�ำไปสู่
เน้ือหาท่ีต้องวัดและวิธีการตรวจให้คะแนน จากตัวอย่างข้างต้นสมมติมีองค์ประกอบส�ำคัญท่ีต้องการวัด
3 องค์ประกอบ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์และน้ําหนักความส�ำคัญ ดังตารางท่ี 7.6
ตารางที่ 7.6 ความสมั พันธ์ระหวา่ งองคป์ ระกอบที่วดั วัตถปุ ระสงค์ และนา้ํ หนกั ความสำ�คัญ
องค์ประกอบทว่ี ัด วัตถปุ ระสงค์ นาํ้ หนักความสำ�คญั
1. ทักษะ A (การเขียนโครงการ) 10 10%
2. ทักษะ B (การใช้อุปกรณ์ในการตัดเย็บเส้ือผ้าสตรี) 1, 2, 7 25%
3. ทักษะ C (การเลือกผ้าและการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี) 3, 4, 5, 6, 8, 9 65%
จากตารางแสดงว่าสาระการเรียนรู้น้ีให้ความส�ำคัญกับทักษะ C มากท่ีสุด รองลงมาคือ ทักษะ B
และทักษะ A ตามล�ำดับ ซึ่งจะต้องวางแผนให้การวัดแต่ละองค์ประกอบสอดคล้องกับวิธีการวัดที่ก�ำหนดไว้
(งานท่ีให้ท�ำ) ดังแสดงในตารางที่ 7.7
ตารางท่ี 7.7 ความสัมพันธ์ระหว่างองคป์ ระกอบท่ตี อ้ งการวดั และวธิ ีการวัด
องค์ประกอบทีว่ ดั สังเกตพฤติกรรมการ การทำ�โครงการ รวม
ทำ�งานในสถานการณจ์ รงิ
1. ทักษะ A (การเขียนโครงการ)
2. ทักษะ B (การใช้อุปกรณ์ในการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี) - 10% 10%
3. ทักษะ C (การเลือกผ้าและการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี) 25% - 25%
65% - 65%
รวม
90% 10% 100%
2.2 การดำ� เนินการสร้างเคร่อื งมือ มีรายละเอียดดังนี้
2.2.1 ระบุรายละเอียดของเน้ือหาในเครื่องมือประเภทต่าง ๆ วางแผนไว้ เน้ือหาท่ีวัดสัมพันธ์
กับคุณลักษณะท่ีต้องการวัด สามารถก�ำหนดจากการศึกษาธรรมชาติของงานท่ีมอบหมาย ผลงานวิจัยที่เคย
มีผู้ศึกษาไว้แล้ว หรือเคร่ืองมือท่ีผู้อื่นสร้างไว้ เคร่ืองมือที่มีคุณภาพต้องมีเนื้อหาครอบคลุมและสอดคล้อง
กับสัดส่วนของคุณลักษณะพฤติกรรมที่วิเคราะห์ไว้
2.2.2 กำ� หนดวธิ กี ารตรวจใหค้ ะแนนและการประเมนิ ผล การตรวจใหค้ ะแนนเปน็ เรอื่ งสำ� คญั
เพราะการตรวจให้คะแนนทักษะปฏิบัติมีความเป็นปรนัยน้อยเน่ืองจากต้องอาศัยความคิดเห็นหรือดุลพินิจ
ของผู้ประเมิน จึงต้องมีการก�ำหนดเกณฑ์ในการให้คะแนน (scoring rubrics) ที่มีความชัดเจน จะช่วยให้
การตรวจให้คะแนนมีความเป็นปรนัยมากขึ้นท�ำให้ผู้ถูกประเมินได้รับความยุติธรรม