Page 39 - หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา
P. 39

แนวคิดใหมก่ ารประชาสมั พันธแ์ ละการโฆษณาในยุคดจิ ิทลั 2-29
       	 ลักษณะเดน่ ของการตลาด 3.0 คอื การสรา้ งคา่ นิยมและคุณค่า การท�ำให้โลกน่าอยูข่ ึน้ การ
รว่ มมือกันของสงั คม การสร้างความสัมพันธ์ สร้างเครือขา่ ย การใช้เทคโนโลยเี ชือ่ มต่อกบั สงั คม
       2. 	แนวคิดทส่ี ำ� คัญของการตลาด 1.0 คอื 4Ps
       	 แนวคดิ ทส่ี �ำคัญของการตลาด 2.0 คือ 4Cs, S-T-P, Customer Relation Management
       	 แนวคิดทส่ี ำ� คัญของการตลาด 3.0 คอื 3i (integrity/image/identity), Corporate Social
Responsibility, Social Values

เรื่องที่ 2.3.2
การตลาด 4.0 กับการประชาสัมพันธ์และโฆษณา

       ในปี ค.ศ. 2016 ศาสตราจารยฟ์ ลิ ิป คอตเลอร์ ได้นำ� เสนอแนวคิด “การตลาด 4.0” ซึ่งเปน็ การ
ตลาดที่มีความเป็นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง (human-centric) ไว้ในหนังสือ “Marketing 4.0: Moving
from Traditional to Digital” (การตลาด 4.0: การก้าวจากรปู แบบดง้ั เดิมไปสู่รปู แบบดิจทิ ลั ) (Kotler,
Kartajaya, Setiawan, 2016) โดยได้อธิบายว่า การตลาด 4.0 คือ “แนวทางการตลาดทผ่ี สมผสานการ
ตดิ ตอ่ ปฏสิ มั พันธท์ างออนไลนก์ ับออฟไลนร์ ะหว่างองค์การและลูกค้า” เนอ่ื งจากในยคุ การตลาด 3.0 นั้น
มกี ารมงุ่ เนน้ การสอื่ สารทางออนไลน์ และมกี ารคาดการณก์ นั วา่ การสอื่ สารทางออนไลนจ์ ะเขา้ มาแทนทก่ี าร
สอื่ สารแบบดงั้ เดมิ (ออฟไลน)์ แตค่ อตเลอรก์ ลา่ ววา่ ในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั นนั้ การสอ่ื สารทางออนไลนเ์ พยี ง
อยา่ งเดยี วนนั้ ไมเ่ พยี งพอ ยง่ิ โลกกา้ วไปสกู่ ารเปน็ ออนไลนม์ ากขน้ึ เทา่ ไร การสอื่ สารแบบออฟไลนก์ ย็ ง่ิ สรา้ ง
ความแตกตา่ งใหก้ บั องคก์ ารมากขนึ้ เทา่ นน้ั โดยคอตเลอรเ์ ชอ่ื วา่ การตลาดผา่ นสอื่ ดจิ ทิ ลั จะไมเ่ ขา้ มาทดแทน
การตลาดแบบดัง้ เดมิ แตจ่ ะตอ้ งใช้เสริมกันเพือ่ สรา้ งความภักดีของลูกคา้ ใหไ้ ด้มากทีส่ ดุ

       นอกจากนนั้ ในยคุ การตลาด 4.0 แบรนดต์ อ้ งมคี วามยดื หยนุ่ และปรบั ตวั ไดต้ ามเทคโนโลยที เ่ี ปลย่ี น
อย่างรวดเร็ว แต่สิ่งที่ส�ำคัญท่ีสุดก็คือความจริงใจ ซึ่งเป็นทรัพย์สมบัติท่ีมีค่าท่ีสุดขององค์การ แบรนด์ใน
ยคุ การตลาด 4.0 ไมจ่ �ำเปน็ จะต้องมภี าพลักษณท์ ส่ี มบูรณ์แบบเหมือนที่ถูกคาดหวังไวใ้ นยคุ การตลาด 3.0
แต่ถูกคาดหวังให้เป็นเหมือน “มนุษย์” คนหนึ่ง น่ันคือ สามารถเข้าถึงได้ น่าคบหา จริงใจ ไม่เสแสร้ง
ไมน่ า่ กลวั สามารถทำ� ผดิ พลาดได้ และมจี ดุ ออ่ นเหมอื นมนษุ ยท์ ว่ั ๆ ไป และยอมรบั ความผดิ หรอื จดุ ออ่ นนนั้
อยา่ งจรงิ ใจโดยไมฝ่ นื ทจ่ี ะตอ้ งสมบรู ณแ์ บบ เนอื่ งจากเกดิ การเปดิ โปงการหลอกลวงขององคก์ ารหลายแหง่
ที่ภาพลักษณ์ภายนอกนั้นดูสมบูรณ์แบบ ดังน้ันความสมบูรณ์แบบจึงถูกมองว่าเป็นส่ิงท่ีไม่น่าเช่ือถือและ
นา่ เคลือบแคลงสงสยั ไม่เปน็ ธรรมชาติ เกิดจากการออกแบบและประดษิ ฐข์ ึน้ เพอื่ ปกปดิ ขอ้ ผดิ พลาด เชน่
เดียวกบั การเขา้ มามีบทบาทมากขึน้ ของหุน่ ยนตแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: A.I.) ใน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44