Page 41 - หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา
P. 41
แนวคิดใหมก่ ารประชาสมั พันธแ์ ละการโฆษณาในยุคดจิ ิทลั 2-31
แตต่ อ่ มาก็มนี ักการตลาดได้ดัดแปลงโมเดล AIDA ไปเป็นโมเดล 4A ดงั ตอ่ ไปน้ี
4A’s Model
Aware (การรบั ร)ู้ ผูบ้ รโิ ภครบั รู้เก่ยี วกับแบรนด์ ไมว่ า่ จะเป็นช่อื แบรนด์ ขอ้ มลู เกีย่ วกับแบรนด์
Attitude (ทศั นคต)ิ เมอื่ รบั รแู้ ลว้ ผบู้ รโิ ภคกจ็ ะเกดิ ทศั นคตเิ กย่ี วกบั แบรนดแ์ ละสนิ คา้ ทง้ั ในแงบ่ วก
และแง่ลบ
Act (การกระทำ� ) เมอ่ื ผบู้ รโิ ภคเกดิ ทศั นคตแิ ลว้ กจ็ ะตดั สนิ ใจอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทม่ี กั จะสอดคลอ้ ง
กับทศั นคติ เช่น การซ้ือ การไมซ่ ือ้ การบอกต่อ การวจิ ารณ์
Act Again (การกระทำ� ซาํ้ ) แตก่ ารเดนิ ทางของผบู้ รโิ ภคตามโมเดล 4A นไี้ มไ่ ดห้ ยดุ ทก่ี ารกระทำ�
แตเ่ ปน็ การกระท�ำซ้าํ เช่น การซอ้ื ซาํ้
จนมาถึงยุคการตลาด 4.0 คอตเลอรไ์ ดป้ รับโมเดล 4A’s เป็น 5A’s คอื
5A’s Model
Awareness (การรับรู้) การรับรู้ถือเป็นขั้นตอนแรกของผลกระทบ เช่นเดียวกับโมเดล AIDA
และ 4A โดยในขนั้ น้ี ลกู คา้ จะรบั รแู้ บรนดต์ า่ งๆ อยา่ งไมม่ สี ว่ นรว่ ม จากชอ่ งทางการสอื่ สารการตลาดตา่ งๆ
ทง้ั ทต่ี ง้ั ใจหรอื ไมต่ ง้ั ใจ รวมถงึ จากประสบการณใ์ นอดตี ดว้ ย โดยในขนั้ ตอนนี้ ผบู้ รโิ ภคอยใู่ นขนั้ “I know”
(ฉนั รู)้
Appeal (ความสนใจ) ขน้ั ตอ่ จากการรบั รู้ คือ ความสนใจ และเร่มิ เกดิ ความตอ้ งการ เช่นเดยี ว
กับขัน้ ตอน Interest ของ AIDA และ Attitude ของ 4A โดยในขั้นนี้ ผ้บู ริโภคจะประมวลขอ้ มูลต่างๆ
ท่ีไดร้ ับมา และจะสร้างความทรงจำ� เกีย่ วกับแบรนด์ ทงั้ ระยะสนั้ และระยะยาว และจะเรม่ิ เกิดความผูกพนั
กับบางแบรนด์ที่ตนเองสนใจและชนื่ ชอบ โดยในข้ันตอนน้ี ผู้บรโิ ภคอยใู่ นขน้ั “I Like” (ฉันชอบ)
Ask (สอบถาม) ขน้ั ตอนนค้ี อื จดุ เดน่ ของการตลาด 4.0 ทไ่ี มม่ ใี นการตลาดยคุ อนื่ โดยในขนั้ ตอนน้ี
ผู้บริโภคที่เกิดความสนใจในแบรนด์ จะยังไม่ตัดสินใจทันที แต่จะสอบถามเพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมประกอบ
การตัดสินใจ โดยในการตลาดยคุ กอ่ น อาจมีการสอบถามคนรอบขา้ ง เช่น เพอื่ นหรือครอบครวั แตใ่ นการ
ตลาดยคุ 4.0 การสอบถาม หมายความถงึ การถามขอ้ มลู ในชอ่ งทางตา่ งๆ โดยเฉพาะจากสอื่ โซเชยี ลมเี ดยี
ทั้งจากเพื่อน ครอบครัว ผู้ตดิ ตาม ผูเ้ ชี่ยวชาญ รวมทั้งสามารถถามแบรนด์ไดโ้ ดยตรง ซ่งึ จะได้ค�ำตอบท่ี
กว้างขวาง หลากหลาย ละเอียด และรวดเร็ว สามารถเห็นภาพ รายละเอียดต่างๆ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสนิ ใจของผู้บรโิ ภคเป็นอย่างสงู ซึง่ การตลาดในยคุ กอ่ นไมส่ ามารถทำ� ได้ โดยในข้ันตอนน้ี ผบู้ รโิ ภคอยู่
ในข้ัน “I’m Convinced” (ฉันเช่อื )
นอกจากนน้ั การสอบถาม สามารถหมายถงึ การพมิ พ์ค�ำถามลงในโปรแกรมสืบคน้ (search en-
gine) เชน่ Google เนอ่ื งจากระบบการสบื คน้ ในยคุ ใหมม่ กี ารพฒั นาไปจนสามารถคน้ หาขอ้ มลู จากคำ� ถาม
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เวบ็ ไซตข์ องแบรนดท์ มี่ รี ายชอ่ื ขน้ึ ในการสบื คน้ ในลำ� ดบั แรกๆ จงึ มโี อกาสทผี่ บู้ รโิ ภค
จะกดดขู อ้ มลู และตดั สนิ ใจใชบ้ รกิ ารสงู กวา่ เวบ็ ไซตข์ องแบรนดท์ ผ่ี บู้ รโิ ภคคน้ หาไดย้ าก หรอื ปรากฏในลำ� ดบั
หน้าท้ายๆ การปรับแต่งการสืบค้นทางออนไลน์ (search engine optimization) เพ่ือให้ผู้บริโภคเห็น
เว็บไซต์ของแบรนด์หรือองค์การได้ในล�ำดับต้นๆ จึงมีบทบาทส�ำคัญต่อการท�ำการตลาดในยุค 4.0 เป็น
อยา่ งย่ิง โดยบริษัท Google เช่อื วา่ ชว่ งเวลาในการสอบถามความเหน็ คือ ชว่ งเวลาทีผ่ ูบ้ รโิ ภคเกิดความ
ตอ้ งการซอื้ มากทสี่ ดุ ซึง่ เรียกวา่ Micro Moments และชว่ งเวลาที่ผูบ้ ริโภคไดร้ ับข้อมลู ความคิดเห็นจาก