Page 66 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 66
8-56 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
มีโครงเร่อื งเหมอื นกัน แต่โครงเรือ่ งยอ่ ย ชอ่ื ตวั ละคร ชอ่ื บ้านนามเมือง สำ� นวนโวหารและภาษาเเตกตา่ ง
กันไปเฉพาะถน่ิ โดยผแู้ ตง่ ชาวอสี านไดน้ ำ� โครงเรอ่ื งมาประพนั ธต์ ามแบบฉบบั ฉนั ทลกั ษณข์ องอสี านทเี่ รยี กวา่
โคลงสารหรือกลอนล�ำ เพื่อใช้อ่านเป็นมหรสพในงานศพ หรือใช้เทศน์ จึงท�ำให้เร่ืองสังข์ศิลป์ชัยเป็น
วรรณกรรมนทิ านทเ่ี ปน็ ทน่ี ยิ มชนื่ ชอบเปน็ อยา่ งมากของผคู้ นในภาคอสี านจนมกี ารนำ� มาเลา่ ใหล้ กู หลานฟงั
จงึ ทำ� ใหม้ ที งั้ สำ� นวนมขุ ปาฐะและสำ� นวนลายลกั ษณเ์ ปน็ จำ� นวนมาก มกี ารนำ� มาใชส้ ำ� หรบั แสดงหมอลำ� และ
หนังประโมทัยหรือหนังตะลุงจ�ำนวนมาก ตลอดถึงน�ำไปวาดเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังตามโบสถ์วิหารใน
วัดต่างๆ ในภาคอีสานมากมายนอกเหนือจากเรือ่ งพทุ ธประวตั ิและพระเวสสันดรชาดก
4.2 ส�ำนวนโวหาร เรื่องสงั ขศ์ ิลปช์ ยั มคี วามโดดเด่นด้านวรรณศิลป์ มีการใช้ถ้อยคำ� เลน่ คำ� ที่มี
ความสัมผัสคล้องจอง ตามลักษณะฉันทลักษณ์ของโคลงสารไพเราะเป็นอย่างยิ่ง จนนักประพันธ์ถือเป็น
แบบฉบับของการแตง่ โคลงสารและกลอนล�ำของอสี าน โดยเฉพาะบทเดน่ ท่มี ีการส่งบทแบบกลบทที่มกี าร
เลอื กใชค้ ำ� ทสี่ มั ผสั ทงั้ เสยี งสระ เสยี งพยญั ชนะ และเสยี งวรรณยกุ ตต์ ำ่� และสงู ในคำ� ทหี่ า้ กบั คำ� ทเี่ จด็ ในวรรค
เดยี วกนั ทำ� ใหเ้ กดิ จงั หวะลลี าของคำ� ทไี่ พเราะ ไดแ้ กต่ อนทส่ี งั ขศ์ ลิ ปไ์ ชยออกเดนิ ทางไปตามหาอาแลว้ เกดิ
คดิ ถึงแมแ่ ละป้า ขอ้ ความวา่
ผ่อเห็น ไม้ล่าวล้ม เลียนฮ่อมเขาฮอม พุ้นเยอ
ภูธรลัด เลียบพะนองน�ำน้อง
เห็นผากว้าง เขาค�ำค้อยค�่ำ
ดอยน้ัน อินทร์แต่งต้ัง เขาเฮื้องฮุ่งเฮือง
ทุกประกอบแก้ว เป็นค�ำทุกค่�ำ
ภูวนาถท้าว ใจสล่ังฮุ่งหลัง
เยื่อนยากเท้า ทั้งแห่งโฮยแฮง
เดินดงหลวง กว่าไกลลือใกล้
เลยล่วงขึ้น เขางอนเงยง่อน
ท้าวก็ คึดแป่ป้า ปุนไห้ฮ่�ำไฮ
หลิงดอกไม้ ก้านก่องอินทร์กอง พุ้นเยอ
บาก็ ยินดีผาย ฮอดซอนซมซ้อน
พอใจแล้ว เดินเดียวดั้นเดี่ยว
ขว้ามมอบด้าว ไปหน้าหน่วงหนา
ฟังยิน สักกูณาฮ้อง ควายคอนฮ้องค่อน พุ้นเยอ
บางพ่อง ฮักฮ่วมซู้ สมก้อยเก่ียวกอย
กอยกลมเกี้ยว มีไลซ้อนไหล่
คือดัง สองก่อซ้อน ซมเหง้าหง่วมเหงา
บาก็ ผายตนดั้น ดงยางเย้ือนย่าง
คึดแม่ป้า ปุนไห้ฮ�่ำไฮ
(พระอริยานุวตั ร, 2531, น. 49-50)