Page 109 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 109

การแปลเพื่อการสื่อสาร 15-99

เรื่องที่ 15.5.1
ประเภทต่าง ๆ ของการแปลแบบล่าม

       ในวงการแปลอาชพี มนี ักแปลอยู่ 2 ประเภทคือ นักแปลข้อเขียน กบั นักแปลคําพูด
       นักแปลข้อเขียนท�ำหน้าที่ถ่ายทอดสารโดยการเขียน ส่วนนักแปลค�ำพูดน้ันถ่ายทอดสารด้วย
ค�ำพูดหรอื วาจา นักแปลค�ำพูดเรยี กอกี อย่างหนึ่งวา่ “ล่าม” (interpreter)
       การแปลแบบล่ามมลี ักษณะส่วนใหญค่ ล้ายคลึงกบั การแปลข้อเขียน กลา่ วคอื เป็นงานท่ตี อ้ งการ
ความรู้ ศิลปะ และเทคนิคการแปลสารท้ังที่เป็นข้อเขียนและวาจา ต้องแปลทั้งความหมายทางภาษาและ
วัฒนธรรม การแปลท้ังสองแบบต้องการความถูกต้อง ซ่ึงจะเป็นไปได้ก็ต่อเม่ือผู้แปลมีความรู้ความเข้าใจ
สารท่แี ปลอย่างถูกตอ้ งชดั เจน
       ผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจอย่างดีในภาษาทั้งสองคือ ภาษาไป (source language) กับภาษามา
(target language) สามารถพดู จาไดค้ ลอ่ งแคลว่ นนั้ ไมส่ ามารถเปน็ ลา่ มทดี่ ไี ดเ้ สมอไป เพราะผทู้ เ่ี กง่ ภาษา
บางคนมีความร้รู อบ ราวกบั สารานกุ รมท่ีมีชวี ติ แต่ไมส่ ามารถแปลความร้ถู า่ ยทอดให้ผูอ้ ่ืนเข้าใจได้ เหตุที่
เปน็ เชน่ นเ้ี พราะบคุ คลดงั กลา่ วขาด “เทคนคิ ” ในการแปล ดงั นนั้ การเปน็ นกั แปลและลา่ มจงึ มคี วามจำ� เปน็
ต้องมีเทคนคิ ในการแปลดว้ ยการศกึ ษาและฝกึ ฝนอยา่ งมีระเบยี บวธิ ี มีข้ันตอน มีการควบคมุ อยา่ งถกู ต้อง
       การแปลแบบล่าม (interpretation) มีอยู่ 3 แบบด้วยกันคือ ล่ามต่อเน่ือง ล่ามฉับพลัน และ
ลา่ มกระซิบ ดงั นี้
       1.	 ล่ามต่อเน่ือง การแปลแบบล่ามต่อเนื่องหมายถึงการแปลตามผู้พูดเป็นช่วงๆ อย่างต่อเนื่อง
กันไปเรื่อยๆ การเป็นล่ามชนิดน้ีล่ามจะต้องมีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา มีประสาทแข็งแกร่งเป็นเลิศ
มคี วามรอบรใู้ นเรอื่ งทก่ี ำ� ลงั พดู อยู่ และทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ มคี วามรทู้ งั้ สองภาษาเปน็ อยา่ งดี คอื ทนั ทที ค่ี ำ� พดู ของ
ผู้พูดกระทบโสตประสาทของล่ามก็จะส่งสัญญาณไปที่ลิ้น ซ่ึงจะต้องรัวออกมาเป็นอีกภาษาหน่ึงได้ทันที
อยา่ งเปน็ อตั โนมตั ิ การทำ� ลา่ มชนดิ นลี้ า่ มอาจตอ้ งอยขู่ า้ งผพู้ ดู เสมอ มกั จะใชใ้ นการประชมุ ยอ่ ย การบรรยาย
การสอน ฝกึ อบรม การเจรจาแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ การเจรจาตอ่ รอง การธรุ กิจ
       ขอ้ เสยี ของการใชล้ า่ มประเภทนคี้ อื การนำ� เสนอตอ้ งใชเ้ วลายาวนาน ผพู้ ดู เมอ่ื พดู ไปแลว้ ตอ้ งหยดุ
เปน็ ชว่ งๆ เพอ่ี รอใหล้ ่ามแปล ท�ำให้ความคิดขาดตอน บางคร้ังอาจลมื สงิ่ ทต่ี อ้ งพดู
       ข้อดีของการใช้ล่ามต่อเน่ือง คือให้โอกาสผู้พูดได้มีเวลาคิดไตร่ตรองนานขึ้นก่อนพูดเจรจา ส่วน
ข้อดขี องลา่ ม ก็คือ การมีเวลาเช่นกนั มเี วลาจดข้อความทีพ่ ดู อยา่ งสน้ั ๆ เป็นลำ� ดบั ขั้นตอน หากไม่เข้าใจ
เนอื้ หา หรอื จดไมท่ นั กม็ เี วลาซกั ถามผพู้ ดู ได้ ทำ� ใหก้ ารแปลสละสลวยครบความ ถา้ เปน็ เรอื่ งทม่ี คี วามสำ� คญั
ลา่ มไมค่ วรแปลสรปุ เช่น การแปลสุนทรพจน์ การชแ้ี จงนโยบาย หลักการ เปน็ ต้น
       ข้อความต่อไปนี้เป็นสุนทรพจน์ท่ีสมมติว่าล่ามจะแปลแบบต่อเนื่อง || เครื่องหมายน้ีหมายความ
ว่าเป็นการหยุดเป็นช่วงๆ ช่วงหยุดน้ีอาจส้ันบ้างยาวบ้างขึ้นอยู่กับเนื้อหา อย่าลืมว่าล่ามต้องแปลโดยใช้
ภาษาไทยท่เี ป็นธรรมชาติ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114