Page 115 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 115

การแปลเพื่อการสอื่ สาร 15-105

เรื่องที่ 15.5.2
ขั้นตอนการฝึกฝนการแปลแบบล่าม

       ขน้ั ตอนในการฝกึ ฝนลา่ มนน้ั เรม่ิ ดว้ ยการศกึ ษาความรทู้ จี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั ลา่ มดงั กลา่ วในเรอึ่ งท่ี 15.5.1
แล้ว ต่อจากน้ันคือการฝึกฝนการใช้ภาษาด้วยความรวดเร็วคล่องแคล่ว ซึ่งต้องการตารางฝึกท่ีสมํ่าเสมอ
และสอดคลอ้ งกบั หลกั จติ วทิ ยาแหง่ การเรยี นรู้ และการฝกึ ทกั ษะ ในทนี่ จี้ ะกลา่ วถงึ การฝกึ ทกั ษะลา่ ม 3 ขนั้
คอื ขน้ั เบือ้ งตน้ ข้นั กลาง และข้นั สงู

1. 	การฝึกทักษะล่ามเบ้ืองต้น

       การฝึกทกั ษะแปลแบบล่ามท่ไี ดผ้ ลดีท่สี ดุ และนยิ มใชป้ ฏบิ ตั ิในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการสอน
ล่ามมี 2 ขัน้ ตอนคือ การฝึกทกั ษะทัง้ สี่ของการใชภ้ าษาโดยเฉพาะการฟัง และการฝึกจากการพดู และการ
อ่าน ดงั น้ี

       1.1	 การฝึกทักษะทั้งสี่ของการใช้ภาษาโดยเฉพาะการฟัง ตามหลักจิตวิทยาของการฝึกทักษะ
ภาษา นักจิตวทิ ยาได้ใหค้ วามเหน็ วา่ ถา้ ฝกึ ทักษะทงั้ สี่ (ฟัง พดู อ่าน เขียน) ควบคู่กันไป รวมทัง้ การฝึก
ทกั ษะการแปลดว้ ย ผลทไ่ี ดร้ บั จะทำ� ใหผ้ เู้ รยี น สามารถใชภ้ าษาไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ เปน็ อตั โนมตั แิ ละไมล่ มื
ภาษา การฝึกล่ามก็น�ำวิธีการนี้มาใช้เช่นกัน คือล่ามต้องได้รับการฝึกให้มีทักษะในการฟังเป็นอันดับแรก
สามารถฟงั คำ� พดู ไดเ้ ขา้ ใจอยา่ งรวดเรว็ ไมว่ า่ ผพู้ ดู จะออกเสยี งชดั หรอื ไมช่ ดั พดู เรว็ หรอื พดู ชา้ การฝกึ ลา่ มนน้ั
ผู้ฝึกต้องหา “รูปแบบ” เสียงต่างๆ ของผู้พูดมาให้ฟัง เช่น เสียงต่ํา เสียงสูง เสียงห้าว เสียงอ้อมแอ้ม
เสียงเดก็ เสยี งผูใ้ หญ่ เสียงผู้ชาย เสียงผู้หญิง เสียงคนพูดเหน่อจากท้องถน่ิ ตา่ งๆ บางคน ออกเสียงยาว
เปน็ เสียงสน้ั บางคนพดู รัวเร็ว บางคนพดู เว้นวรรคตอนไมถ่ ูกต้อง เปน็ ตน้ ไม่ว่าผพู้ ูดจะพดู ในลักษณะใด
ลา่ มตอ้ งพยายามทำ� ความเคยชนิ เพอ่ื เขา้ ใจ ลา่ มไมม่ โี อกาสเลอื กแปลคำ� พดู ของคนทพี่ ดู ชดั ถอ้ ยชดั คำ� ลา่ ม
จ�ำเป็นต้องแปลค�ำพูดของคนที่พูดรัวเร็ว ฟังยาก ฯลฯ ดังนั้นในการฝึกทักษะท้ังส่ีของล่ามจึงเน้นการฟัง
มากที่สุด สถาบันการสอนล่ามจะมีเสียงพูดชนิดต่างๆ จัดเก็บไว้ในห้องปฏิบัติการส�ำหรับล่าม เพื่อให้
ผเู้ รยี นเข้าไปใชฝ้ กึ ฟังและแปลด้วยตนเอง

       1.2	 การฝึกจากการพูดและการอ่าน ในขนั้ เริม่ แรกน้ีให้ฟงั ค�ำพูดส้นั ในเรอื่ งงา่ ยๆ ธรรมดาๆ ตาม
ความเปน็ จรงิ ฟังจนจบให้ตลอดทง้ั เรือ่ งกอ่ น เพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจ แล้วจึงพดู ให้แปลทลี ะประโยค การ
ฝึกข้ันน้ีไม่ให้ผู้แปลเห็นข้อความใดๆ เลย ผู้ฝึกอาจอธิบายความหมายของค�ำบางค�ำตามเสียงที่ได้ยิน
แตไ่ มค่ วรเขียนค�ำนั้นๆ เพราะการเหน็ รปู ศพั ท์จะท�ำให้การฝึกฟังไม่ได้ผล

       ในข้ันนี้ยังไม่ต้องใช้ส�ำนวนแปลที่เกล้ียงเกลาก็ได้ แต่ควรให้แปลอย่างถูกต้องและรวดเร็ว ต้อง
แปลให้จบก่อนทีผ่ ู้พดู จะข้นึ ประโยคใหม่
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120