Page 21 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 21
การแปลเพื่อการสือ่ สาร 15-11
เรื่องที่ 15.1.2
พัฒนาการของการแปล
จดุ เรมิ่ ตน้ ทแ่ี ทจ้ รงิ ของการแปลถา่ ยทอดภาษาหนง่ึ ไปยงั อกี ภาษาหนง่ึ เกดิ ขน้ึ ทไ่ี หน และเมอื่ ใดนน้ั
ไมม่ ีหลักฐานสืบทราบแนน่ อน มีแต่การกลา่ วอยา่ งกวา้ งๆ วา่ การแปลครง้ั แรกๆ ในสงั คมมนษุ ยเ์ ปน็ การ
แปลด้วยวาจา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การแปลแบบล่าม จุดมุ่งหมายของการแปลในช่วงแรกๆ น้ีคือ
การเจรจาธรุ กจิ การทำ� สญั ญาการคา้ การทำ� สตั ยาบนั การทำ� สญั ญาผกู ไมตรรี ะหวา่ งบคุ คลและระหวา่ งรฐั
วรรณกรรมแปลทเี่ กา่ แกท่ ส่ี ดุ ทพี่ บคอื เอกสารทข่ี ดุ พบในบรเิ วณเมอื งเอบลา (Ebla) ซงึ่ ตง้ั อยทู่ าง
ทิศเหนือของประเทศซีเรียปัจจุบัน1 สันนิษฐานว่าคงเขียนขึ้นราว 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในสมัยนั้น
ประเทศซเี รยี โบราณเปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ ขายระหวา่ งชาติ และการแลกเปลยี่ นสนิ คา้ และความคดิ เหน็ ตา่ งๆ
ดงั นนั้ คนหลายชาติ หลายภาษาซง่ึ มาชมุ นมุ กนั เพมิ่ เจรจาธรุ กจิ และการคา้ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นเอกสาร
กันดว้ ยการแปล (Horgneline, 1981)
สว่ นนกั แปลชาวยโุ รปคนแรกๆ นนั้ เชอ่ื กนั วา่ เปน็ ชาวกรกี ไดแ้ ปล มหากาพย์โอดิสซี (Odyssey)
ของ โฮมเมอร์ (Homer) ออกเป็นภาษาละตนิ นอกจากนัน้ กม็ ีนกั พูดเอกคอื ซิเซโร (Cicero) อกี ผู้หนึ่ง
ซ่ึงจัดได้ว่าเป็นนักแปลคนแรกๆ ของยุโรป ซึ่งแปลจากภาษาละตินเป็นภาษากรีก เป็นนักแปลแห่ง
ศตวรรษที่ 5 กอ่ นครสิ ตกาล
ในราวศตวรรษที่ 8-9 มีหลักฐานว่านครแบกแดดเป็นศูนย์กลางของการแปลทางวิชาการ งาน
แปลสว่ นมากเป็นวิทยาการกรีกโบราณ เชน่ ปรัชญาของ อริสโตเติล และเพลโต (Aristotle, and Plato)
รวมทง้ั งานทางการแพทยข์ องกาเลน็ (Galen) และฮปิ โปเกรตสิ (Hippocratis) และงานทางประวตั ศิ าสตร์
ของเฮโรโดตุส (Herodotus) ดว้ ย
ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 ได้เกิดศูนย์การแปลแห่งเพลโตขึ้นในสเปน มีการแปลงานทาง
วิชาการ และทางวทิ ยาศาสตร์ จากภาษาอาหรบั และจากภาษากรกี เป็นภาษาสเปน ตอ่ มากไ็ ดม้ ีนักแปล
ตา่ งชาตติ า่ งภาษาอกี มากมายเขา้ มารว่ มแปลเปน็ ภาษาอติ าเลยี น ภาษาฝรงั่ เศส ภาษาปอรต์ เุ กส และภาษา
รูเมเนีย
การแปลได้ด�ำเนินไปอย่างแพร่หลายท้ังทางยุโรปและเอเชีย ครั้นมาร์โคโปโล กลับจากประเทศ
จนี การแปลขา้ มทวปี จงึ ไดเ้ รมิ่ ขน้ึ อยา่ งชดั เจน ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว นกั แปลตา่ งกม็ อี สิ ระในการแปลจนเกดิ
ปญั หาขดั แยง้ ระหวา่ งนกั แปลดว้ ยกนั เอง เชน่ การแปลซาํ้ ซอ้ นกนั และแปลขดั แยง้ กนั การแปลคลาดเคลอ่ื น
การแปลโดยไม่เคารพต้นฉบับ เป็นต้น ประเทศฝร่ังเศสได้ต้ังบัณฑิตยสถาน (Académie) ข้ึนควบคุม
การใช้ภาษาฝรง่ั เศสให้ถกู ต้องไดม้ าตรฐานและควบคมุ การแปลดว้ ย
1 Paul A. Horgnelin. (1981). Antologie de la mnière do traduire. Domaine francais, Montreal: Linguatech,
p. 17.