Page 28 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 28
15-18 ภาษาและทกั ษะเพื่อการส่อื สาร การสือ่ สารงานแปล
กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน-แปล
สาร 1 สาร 2
ผูส้ ่งสาร 1 ผูร้ บั สาร 1 ผสู้ ่งสาร 2 ผู้รับสาร 2
(ผเู้ ขียนภาษาไปหรอื (ผอู้ ่านท่วั ไปและผู้แปล) (ผู้แปล หรือผู้เขียน (ผู้อ่านงานแปล)
ภาษาต้นฉบบั )
ภาษามา)
2. ขั้นตอนในการแปล
เมอ่ื ผแู้ ปลตระหนกั ในหลกั การทวั่ ไปทงั้ 3 ดงั กลา่ วแลว้ กจ็ ะมนั่ ใจไดว้ า่ คณุ ภาพงานแปลจะมคี วาม
ถกู ตอ้ ง เช่อื ถือได้ และสามารถสื่อความหมายไปยังผู้อา่ นได้โดยไม่ผิดพลาด ตอ่ ไปนเี้ ป็นแนวปฏิบัติงาน
ตามขัน้ ตอนต่างๆ เพ่ือเสรมิ ความม่นั ใจในการท�ำงานแปลดังน้ี
ข้ันท่ี 1 การวิเคราะห์เนื้อหา ได้แก่ การอ่านส�ำรวจข้อความหลายๆ คร้ัง เพี่อท�ำความเข้าใจ
ตน้ ฉบบั และเพ่อื พจิ ารณาใหพ้ บลกั ษณะดังน้ี
- เป็นข้อความเกี่ยวกับเร่ืองอะไร เช่น เรื่องการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า หรือข้อแนะน�ำการใช้
เครือ่ งมอื แพทย์ ขอ้ ควรระวงั ในการใชย้ า เปน็ ข่าวสาร เปน็ บทความ เปน็ ต้น
- มีเนื้อหาเน้นหนักในด้านใด เช่น ด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี การเงินการธนาคาร
เปน็ ต้น
- วิธีเสนอเน้ือความมีลักษณะพิเศษอะไรบ้าง เช่น อ้างอิงข้อมูลทางคณิตศาสตร์ การใช้
สถิติ กราฟ ตาราง แผนผงั แผนภูมิ ภาพ การใช้สตู รส�ำเร็จ เปน็ ตน้ การเสนอเนือ้ ความใช้รปู แบบใด เชน่
รอ้ ยแก้ว รอ้ ยกรอง บทความ สารคดี ฯลฯ
- มีข้อความคลุมเครือไม่กระจ่างชัดท่ีผู้เเปลจ�ำเป็นต้องค้นคว้าหาความกระจ่างก่อนลงมือ
เเปลตอนใดบ้าง มศี พั ทใ์ หม่ มีศพั ทย์ าก หรอื สำ� นวนอะไรบา้ งที่ไม่เขา้ ใจ
- มคี วามสนั้ ยาวมากนอ้ ยเพยี งใด สอดคลอ้ งกบั เวลาทม่ี สี ำ� หรบั การแปลหรอื ไม่ ควรใชเ้ วลา
แปลนานเทา่ ใด กำ� หนดใหใ้ กลเ้ คยี งกบั ความต้องการของผูอ้ า่ น
การวเิ คราะหเ์ นอื้ หาเชน่ นค้ี อื การทำ� ความเขา้ ใจเรอื่ งราวอยา่ งละเอยี ดนนั่ เอง สำ� หรบั ผเู้ รมิ่ ฝกึ งานแปล
ควรท�ำความเขา้ ใจเน้ือเรือ่ งโดยเริ่มดว้ ยค�ำถามขั้นมลู ฐานดงั นี้
ใคร-ท�ำอะไร-ที่ไหน-เมื่อใด-อย่างไร-ท�ำไม
ทงั้ นโ้ี ดยพจิ ารณาทลี ะขน้ั ตอน ทลี ะยอ่ หนา้ และพจิ ารณารวมกนั ทกุ ตอนซง่ึ มคี วามสมั พนั ธต์ อ่ กนั
ต้ังแต่ต้นจนจบ ต่อจากน้ันก็ลองย่อความ เพ่ือค้นหาใจความส�ำคัญของเรื่อง การจับใจความได้เป็นการ
ป้องกนั มิใหแ้ ปลผดิ พลาดและขาดตกบกพร่อง