Page 38 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 38
15-28 ภาษาและทกั ษะเพ่ือการสอื่ สาร
- ภาพวาดไดพ้ รรณนาถึงจินตนาการของปิกสั โซเกย่ี วกับความทกุ ข์ที่เขารสู้ กึ เปล่ยี นเปน็
ภาพวาดแสดงให้เหน็ ถึงจินตนาการของปกี ัสโซ รวมท้งั ความรู้สึกที่มตี อ่ ความทกุ ขท์ รมาน
1.2 ความเหมาะสม คือ การใชล้ ลี าหรือสไตล์การเขยี นที่เหมาะสมกบั ตน้ ฉบับ เช่น ตน้ ฉบับเป็น
เรื่องเล่า ลลี าการเขียนภาษาของผแู้ ปลจะต้องใชท้ ำ� นองการเลา่ เร่ืองดว้ ยเช่นกนั ถา้ ตน้ ฉบับภาษาไปเขยี น
ด้วยการเปรียบเปรย ประชดประชัน เหน็บแนม หยิกแกมหยอก ผู้แปลก็ต้องใช้วิธีเขียนด้วยภาษามาท่ี
เท่าเทียมกัน ความเหมาะสมน้ีกินความไปถึงการใช้ระดับของภาษาด้วย ท้ังนี้เพ่ือให้เหมาะสมกับผู้อ่าน
และกบั ตัวละครในเร่อื ง
1.3 ความเรียบง่าย โดยท่ัวไปความเรียบง่ายของภาษามักจะได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง
เพราะกอ่ ใหเ้ กดิ ความราบรื่นในการอ่าน มคี วามเพลดิ เพลนิ และเขา้ ใจงา่ ย แต่กม็ ีนกั เขยี นบางคนสนกุ กับ
การใชถ้ อ้ ยคำ� แปลกๆ ผดิ ไวยากรณ์ สรา้ งคำ� ขน้ึ ใหม่ และเลน่ คำ� เลน่ เสยี ง ทว่ งทสี ะบดั สะบง้ิ การแปลงาน
ประเภทน้ี ความเรียบง่ายของภาษาอาจจะใช้ไม่ได้ ดังนั้นผู้แปลจึงควรค�ำนึงถึงต้นฉบับภาษาไปด้วย
อย่างไรก็ตามงานแปลทีด่ ภี าษาจะมีความเรียบง่าย
1.4 ความสมเหตุสมผล ภาษาของแตล่ ะชาติมคี วามสมเหตสุ มผล (logic) แตกตา่ งกันมากบา้ ง
น้อยบ้าง ถ้าแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษามากับภาษาไปก็พอรับได้ เพราะผู้อ่านงานแปล
พอจะใชจ้ นิ ตนาการเพมิ่ เตมิ ได้ เชน่ กลา่ ววา่ เลก็ เหมอื นแมลงวนั (ภาษาฝรง่ั เศส) คนไทยกพ็ อจะเขา้ ใจได้
ถึงแม้คนไทยจะกล่าวว่า เล็กเหมือนมด ก็ตาม แต่ในภาษาจีนชมผิวพรรณว่า ผิวงามเหมือนหยก คน
ฝรงั่ เศส องั กฤษ อเมริกนั ไมเ่ ขา้ ใจเพราะหยกในความคิดของเขาเปน็ สเี ขียว เขาไมเ่ ขา้ ใจคุณลกั ษณะอนื่ ๆ
ของหยกซงึ่ ละเอยี ด เยน็ สอี อ่ นๆ เยน็ ตา เรอ่ื งของความเหมาะสมคนไทยนยิ มเปรยี บเทยี บวา่ เหมาะสมกนั
ราวก่ิงทองกบั ใบหยก คนยโุ รปก็ไมเ่ ขา้ ใจเหตุผลเช่นกนั ความเปน็ คกู่ ันเหมือนพระอาทิตยค์ ูก่ ับพระจันทร์
กเ็ ปน็ ทเี่ ขา้ ใจยากสำ� หรบั ชาวยโุ รป เพราะเขาเหน็ วา่ เมอื่ พระอาทติ ยข์ นึ้ บนทอ้ งฟา้ แลว้ พระจนั ทรจ์ ะถกู ลบ
หายไปจะอยู่คู่กันได้อย่างไร เขาเห็นว่าตรงกันข้ามกันมากกว่า ดังน้ันการแปลจึงต้องค�ำนึงถึงความ
สมเหตุสมผลในแตล่ ะภาษาด้วย
1.5 วัฒนธรรมการใช้ภาษา หมายถึง มารยาทในการใช้ค�ำ เช่น ภาษาไทยไม่ถือถ้าใครพูดว่า
“ผมและภรรยามีความยินด.ี ..” แตใ่ นภาษาองั กฤษถือเป็นการเสียมารยาทจะตอ้ งพดู ว่า “My wife and
I are very glad...” ในท่ปี ระชมุ ชนฝรั่งมกั กล่าววา่ “ladies and gentlemen” (สภุ าพสตรีและสุภาพ
บรุ ุษทง้ั หลาย) คนไทยมักกล่าววา่ “สวัสดที ่านผู้มีเกยี รติท้ังหลาย”
2. เกณฑ์การประเมินผลงานแปลด้านเน้ือความ
2.1 ความสมดุลของความหมาย ไดแ้ ก่ การรกั ษาความหมายในตน้ ฉบบั ภาษาไปใหเ้ ทา่ เทยี มกบั
งานแปลภาษามา เช่น ต้นฉบับมีความหมายแสดงความโศกเศร้าแกมกังวล แต่งานแปลกลับแปลว่า
โศกเศร้าแทบโลกจะถลม่ ทลาย ซงึ่ แสดงปริมาณความโศกเศร้าทมี่ ากเกินกวา่ ต้นฉบบั ดงั นี้ เป็นตน้
2.2 ความครบถ้วนของความหมาย การแปลท่ีดีไม่ควรตัดทอนความหมายของคุณศัพท์ใน
ตน้ ฉบบั ภาษาไป เพราะการใชค้ ณุ ศพั ทห์ ลากหลายนน้ั แสดงความสามารถเชงิ บรรยายอธบิ ายของนกั เขยี น
ซึ่งนกั แปลจะตอ้ งเก็บรักษาไว้ใหค้ รบถว้ น