Page 87 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 87

การแปลเพอ่ื การสอื่ สาร 15-77

แนวตอบกิจกรรม 15.4.1
       ค�ำแปล (แปลโดย ม.จ.ประสบสขุ สุขสวัสด)์ิ

          เดก็ ชายผมสที องหยดุ ชะงกั แลว้ กระตุกถงุ เทา้ ขน้ึ มาดว้ ยอาการท่เี คยปฏบิ ัตอิ ยเู่ ปน็ ประจ�ำ ท�ำให้
  บรรยากาศของป่าทบึ คลา้ ยกับโรงเรยี นท่ีชานกรุงลอนดอนไปชว่ั ขณะ เสยี งนนั้ ดังข้ึนอีก

          “ฉนั บกุ ไปเกอื บไม่ไหวแล้ว มนั มีอะไรพนั แข้งพันขาฉันเต็มไปหมด”
          เจา้ ของเสยี งถอยกลบั ออกจากพงรก หนามเกยี่ วเสอื้ แจค๊ เกต็ ทเี่ ปรอะเปอ้ื นของเขาเปน็ รอยไปหมด
  หัวเข่าอันเปล่าเปลือยแต่สมบูรณ์ด้วยเน้ือหนังเต็มไปด้วยริ้วรอยเพราะหนามเกี่ยว เขาก้มตัวลง ดึงหนาม
  ออกทลี ะอนั และหันตวั กลับ เขารา่ งเตยี้ กวา่ เดก็ ผมสีทองและตวั อ้วนจ้�ำมำ�่

หมายเหตุ:	ค�ำแปลของนักศึกษาไม่จ�ำเป็นต้องเหมือนค�ำแปลที่ให้ไว้นี้ เพราะลีลาการเขียนของผู้แปลย่อม
          แตกตา่ งกันและมีลกั ษณะเฉพาะตัว

เร่ืองที่ 15.4.2
การแปลนิทาน นิยาย เรื่องเล่าและการ์ตูน

       บนั เทงิ คดปี ระเภทนทิ าน นยิ าย เรอ่ื งเลา่ เปน็ สงิ่ ทม่ี มี าแตโ่ บราณสมยั ทย่ี งั ไมใ่ ชต้ วั อกั ษรสอื่ สารกนั
คนโบราณสื่อกันด้วยการบอกเล่านิทาน นิยายเรื่องเล่าจึงเป็นการเล่าเร่ืองด้วยปากด้วยวาจา ดังน้ันจึงมี
ผูเ้ รียกว่า วรรณคดีปากหรือมุขปาฐะ (Oral Literature) เนอ่ื งจากการเล่านทิ าน นยิ าย เรอ่ื งเลา่ ใชว้ ธิ ี
บรรยายและพรรณนาเป็นพื้น ไม่ใช้วิธีซับซ้อน ด้งนั้นจึงมีผู้เรียกว่า วรรณกรรมวรรณา (Narrative
Literature)

       ผู้สืบทอดศาสนาโบราณใชป้ ระโยชนจ์ ากนิทาน นยิ าย เร่ืองเลา่ เพอื่ นำ� คำ� สอนในศาสนาของตน
เผยแผ่ไปยังประชาชนเช่นพราหมณ์ในศาสนาฮินดู (Hinduism) ได้แก่ นิทานสนุกสนานประทับใจเพื่อ
จูงใจให้คนนับถือบูชาเทพเจ้าของตน พราหมณ์ได้สอดแทรกหลักธรรมเพื่ออบรมศีลธรรมจรรยาแก่ผู้ฟัง
สรา้ งจนิ ตนาการเพอื่ ใหผ้ ฟู้ งั ใครจ่ ะประพฤตติ นเลยี นแบบตวั เอกในเรอ่ื ง นทิ าน นยิ ายของพราหมณม์ ตี วั เอก
ทเ่ี ปน็ เทพเจา้ มนษุ ยส์ ตั วใ์ นจนิ ตนาการและสตั วท์ ม่ี อี ยจู่ รงิ ตวั ละครมกั จะมคี วามสามารถเหนอื มนษุ ยส์ ามญั
มคี วามแข็งแรง มอี ำ� นาจอิทธิฤทธ์แิ ละอภินิหารต่างๆ

       ทางฝ่ายยุโรปนิทาน นิยาย เร่ืองเล่าโบราณก็มีจุดมุ่งหมายส่วนใหญ่คล้ายนิทานพรหมณ์คือ
ตอ้ งการเผยแพร่เรอื่ งราวของเทพเจ้ากรีก และส่ังสอนศลี ธรรม คตธิ รรมในการดำ� รงชวี ติ เชน่ นทิ านอีสป
(Aesop) ซึ่งเราจะน�ำมาศกึ ษาและฝกึ ฝนการแปล
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92