Page 31 - ทักษะชีวิต
P. 31

การจัดการอารมณ์ ความเครยี ดและปัญหาทางอารมณ์ 6-21
            3.1.3	 การฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ดว้ ยวธิ กี ารเกรง็ และคลายกลา้ มเนอ้ื สลบั กนั เปน็ ชว่ งเวลา
สั้นๆ โดยท�ำกับกล้ามเนื้อท้ังตัว เช่น น้ิวมือ มือ แขน ไหล่ คอ ใบหน้า และขา ท�ำเป็นประจ�ำจะลด
ความเครียดลงได้ และช่วยให้นอนหลบั สบายขน้ึ
            3.1.4	 การฝึกหายใจเข้าออกช้า ๆ โดยใช้กะบังลม เวลาหายใจเขา้ หนา้ ทอ้ งจะขยาย เวลา
หายใจออกหน้าท้องจะแฟบ ปอดจะขยายตัว ร่างกายจะได้รับออกซิเจนเพ่ิมข้ึน ท�ำให้รู้สึกสดชื่นและ
ผอ่ นคลายมากข้ึน
            3.1.5	 การปรับวิธีคิดให้ถูกต้องเพ่ือลดความคิดท่ีเป็นผลร้ายต่อสุขภาพ เชน่ การมองโลก
ทางดา้ นลบ ความริษยาอาฆาต ขาดความคดิ สรา้ งสรรค์ มวี ธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาแบบผิดๆ และคดิ วา่ ตนเอง
มีความส�ำคัญมากกว่าความเป็นจริง เน่ืองจากความคิดในลักษณะนี้จะท�ำให้บุคคลขาดมนุษยสัมพันธ์กับ
ผ้อู ่ืน
       3.2	 แนวทางในการจัดการความเครียดจากการท�ำงาน เมอ่ื เกดิ ความเครยี ดจากการทำ� งาน กอ่ น
อน่ื ตอ้ งยอมรบั วา่ ตวั งานและกระบวนการในการทำ� งานเปน็ สง่ิ ทเ่ี ราเขา้ ไปจดั กระทำ� โดยตรงไดย้ าก สง่ิ ทเ่ี รา
สามารถทำ� ไดค้ อื การพยายามทำ� ความเขา้ ใจและยอมรบั ในธรรมชาตขิ องงานทที่ ำ� อยู่ พยายามปรบั ตวั และ
ปรบั ใจให้ยืดหยนุ่ ตามสถานการณ์ หากตอ้ งทำ� งานทย่ี ากกค็ วรขอคำ� ปรึกษาจากผู้ท่มี ปี ระสบการณเ์ พอ่ื หา
แนวทางในการท�ำงานท่ีเหมาะสม หรือหาโอกาสพัฒนาตนเองเพื่อให้มีศักยภาพในการท�ำงานท่ีมากขึ้น
รวมทั้งต้องไม่ลืมท่ีจะให้เวลาตนเองได้พักผ่อนกายและใจจากการท�ำงาน เพ่ือให้ตนเองมีพลังกายและ
พลงั ใจอยา่ งเพยี งพอที่จะรับมือกบั การทำ� งานตอ่ ไป
       หากเกดิ ความขดั แยง้ ในการท�ำงานขึ้นไมว่ า่ รูปแบบใดก็ตาม ขอให้ “ตง้ั สตใิ ห้เรว็ ที่สุด” ควบคุม
อารมณ์ ควบคมุ คำ� พดู และการแสดงออกใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ โดยอาจจะปลกี ตวั ออกจากสถานการณน์ น้ั ชวั่ คราว
เพอ่ื สงบสตอิ ารมณ์ เมอื่ อารมณค์ งทแ่ี ลว้ กค็ วรหาโอกาสปรบั ความเขา้ ใจระหวา่ งกนั พยายามเขา้ ใจเหตผุ ล
และมองหาขอ้ ดขี องอกี ฝา่ ยเพอ่ื ลดความรสู้ กึ ทางลบ เลอื กมองในสงิ่ ทค่ี วรมอง สนใจในสง่ิ ทคี่ วรสนใจ มอง
ขา้ มในสงิ่ ทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ เพอื่ ลดสงิ่ รบกวนจติ ใจ แตถ่ า้ หากวา่ ความขดั แยง้ มนั ใหญจ่ นยากทจ่ี ะรกั ษาสมั พนั ธภาพ
ที่ดีได้นั้น ส่ิงที่เราสามารถท�ำได้เมื่อต้องท�ำงานร่วมกัน คือการรู้จักแยกแยะความส�ำคัญโดยให้มองถึง
ผลส�ำเร็จของงานและประโยชน์ท่ีมีต่อองค์กรเป็นส�ำคัญ รู้จักละวางตัวตน ลดความอิจฉาริษยา หรือยอม
ลดทิฐิที่มีต่อกัน และพยายามมุ่งท่ีตัวงานเป็นหลัก ก็จะช่วยให้สามารถท�ำงานด้วยใจที่ว้าวุ่นน้อยลงและ
มโี อกาสบรรลเุ ปา้ หมายได้มากขึ้น
       3.3	 แนวทางในการจัดการความเครียดภายในครอบครัว สถานภาพทางเศรษฐกจิ ถอื เปน็ ปญั หา
ส�ำคัญท่ีก่อให้เกิดความเครียดภายในครอบครัว ในที่นี้จึงขอเสนอแนวทางในการจัดการโดยการน้อมน�ำ
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ เปน็ ปรชั ญาเศรษฐกจิ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 9 พระราชทาน
พระราชด�ำริชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทย ซึ่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดที่มุ่งให้ทุกคนสามารถ
พึ่งพาตนเองได้ จนเกิดความย่ังยืน ด�ำเนินชีวิตบนทางสายกลาง โดยต้องอาศัยความรอบรู้ที่เหมาะสม
ดำ� เนนิ ชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มสี ตปิ ญั ญา และความรอบคอบ มสี ำ� นกึ ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สตั ย์
สจุ รติ เพอ่ื ใหส้ มดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ทง้ั ดา้ นวตั ถุ สงั คม
ส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี บนหลกั ส�ำคญั 3 ประการ ดงั น้ี
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36