Page 36 - ทักษะชีวิต
P. 36

6-26 ทกั ษะชีวติ
ในทางการแพทยแ์ ละไดป้ ระกาศบญั ชจี �ำแนกโรคระหวา่ งประเทศฉบบั ท่ี 11 (International Classification
of Diseases: ICD-11) โดยระบลุ กั ษณะอาการของภาวะหมดไฟในการทำ� งาน ประกอบดว้ ย

       1)	 รู้สึกอ่อนเพลีย หรือมีพลังในการท�ำงานลดลง อันเป็นผลมาจากการอุทิศเวลาและความ
พยายามเพื่อการทำ� งานทม่ี ากเกนิ ไป

       2)	 รู้สึกห่างเหิน โดยมีทัศนคติที่ท�ำให้เกิดความรู้สึกห่างไกลและไม่สนใจต่องาน เพ่ือนร่วมงาน
รวมถงึ ลูกค้า จึงมองความสัมพนั ธ์ในทที่ �ำงานไปในทางลบ

       3)	 มองความสำ� เรจ็ ในการทำ� งานลดลง มแี นวโนม้ ในการประเมนิ คณุ คา่ ของงานในเชงิ ลบ รสู้ กึ วา่
ตนเองมีความสามารถไม่เพยี งพอต่อการทำ� งาน รวมถึงมคี วามภาคภูมใิ จในตนเองลดลง

       เมื่อบุคคลอยู่ภาวะหมดไฟในการท�ำงานจึงมีความเสี่ยงต่อโรคทางกายมากมาย ไม่ว่าจะเป็น
โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน อาการปวดกระดูกและกล้ามเนื้อ ไข้หวัด ล�ำไส้แปรปรวน
ความเครียดสูง นอนไม่หลับ ความรู้สึกเศร้า ฉุนเฉียวหงุดหงิด รวมทั้งยังท�ำให้เกิดพฤติกรรมการใช้
แอลกอฮอล์หรอื ยาเสพติด

       แนวทางในการดูแลตนเองจากภาวะหมดไฟในการท�ำงาน
       1)	 การจดั ระเบยี บการทำ� งานตามลำ� ดบั ความสำ� คญั รบั ผดิ ชอบงานอยา่ งพอเหมาะ รจู้ กั วางแผน
และกำ� หนดเวลาการทำ� งานใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะวนั เพอื่ สรา้ งความสมดลุ ใหช้ วี ติ และการทำ� งาน เรยี นรทู้ จี่ ะ
ปฏิเสธเพื่อสร้างขอบเขตในการท�ำงาน ปล่อยวางปัญหาของงานไว้ในท่ีท�ำงานและไม่น�ำงานกลับมาท�ำ
ตอ่ ทบี่ า้ นหากไม่จำ� เป็น
       2)	 ความเครียดสะสมเป็นสาเหตุส�ำคัญของภาวะหมดไฟในการท�ำงาน การสังเกตตนเองอย่าง
สมาํ่ เสมอในทกุ ด้านไม่วา่ จะเป็นอารมณค์ วามรู้สกึ อาการทางร่างกาย และพฤตกิ รรมของตนเอง เมอ่ื พบ
สญั ญาณและรตู้ วั วา่ มคี วามเครยี ดเกดิ ขนึ้ กบั ตนเองควรหาทางจดั การความเครยี ดนน้ั ใหห้ มดไปไมใ่ หส้ ะสม
เรอื้ รงั โดยขอคำ� ปรกึ ษาจากผทู้ สี่ ามารถใหค้ วามชว่ ยเหลอื ไดโ้ ดยตรงหรอื พดู ระบายใหบ้ คุ คลทไ่ี วว้ างใจฟงั
เช่น หวั หนา้ งาน เพ่อื นรว่ มงาน เพอ่ื นสนทิ หรือคนในครอบครัว
       3)	 พัฒนาทักษะของตนเองในด้านการปรับตัว การสอ่ื สาร การแกป้ ญั หา และเพ่มิ ความยดื หย่นุ
ในการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น เพิ่มพลังบวกให้กับตนเองโดยเรียนรู้ท่ีจะมองสิ่งรอบตัวด้วยมุมมองด้านบวก
ทงั้ ตอ่ การทำ� งาน ต่อตนเอง และต่อบคุ คลรอบตวั ในทท่ี �ำงาน
       4)	 ลาพกั ผอ่ นหากสามารถทำ� ไดใ้ หต้ นเองไดพ้ กั ผอ่ นและหา่ งไกลจากการทำ� งาน เพอื่ ฟน้ื ฟรู า่ งกาย
อารมณแ์ ละจิตใจของตนเอง
       5)	 ดแู ลสุขภาพกายของตนเองใหแ้ ข็งแรงสม่าํ เสมอ โดยการรบั ประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ ใน
สดั สว่ นทเ่ี หมาะสมใหไ้ ดร้ บั สารอาหารครบถว้ นและดมื่ นา้ํ เปลา่ ใหเ้ พยี งพอ และหลกี เลยี่ งบหุ รี่ แอลกอฮอล์
ยาเสพตดิ นอนหลบั พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ งดใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื และเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลนใ์ นชว่ งกอ่ นเขา้ นอน
เพอ่ื ไมใ่ หม้ สี ง่ิ อนื่ มารบกวนจติ ใจหรอื ดงึ ความสนใจเพอ่ื ใหส้ ามารถนอนไดต้ รงเวลาออกกำ� ลงั กายสมา่ํ เสมอ
อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 30 นาที เชน่ การวง่ิ การวา่ ยนา้ํ การเลน่ โยคะ การออกกำ� ลงั กายจะชว่ ยใหร้ า่ งกายหลง่ั สาร
ท่ที ำ� ให้รสู้ ึกมคี วามสขุ คลายเครยี ดและนอนหลบั ดีข้ึน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41