Page 37 - ทักษะชีวิต
P. 37

การจดั การอารมณ์ ความเครียดและปัญหาทางอารมณ์ 6-27
       6)	 ท�ำกิจกรรมให้เกิดความผ่อนคลายโดยอาจจะท�ำในช่วงวันหยุดหรือหลังเลิกงาน โดยท�ำ
กจิ กรรมทชี่ น่ื ชอบ ท�ำแลว้ รสู้ กึ มคี วามสขุ ปราศจากความเครยี ดและความวติ กกงั วล เชน่ การชมภาพยนตร์
ฟงั เพลง อา่ นหนงั สือ่ ทอ่ งเท่ียว พบปะเพื่อนฝูง ฯลฯ
       7)	 การเจรญิ สติและฝึกท�ำสมาธิเพ่อื ให้จติ ใจสุขสงบอยเู่ สมอ
       8)	 ถา้ สามารถทำ� ได้ อาจจะหาโอกาสในการพดู คยุ กบั หวั หนา้ งานถงึ ขอบเขตงาน ความรบั ผดิ ชอบ
สทิ ธแิ ละอ�ำนาจในการท�ำงาน
       9)	 หากพบว่าไม่สามารถรับมือกับภาวะหมดไฟในการท�ำงานด้วยตนเอง ควรขอค�ำแนะน�ำหรือ
ความช่วยเหลือจากแพทย์ นักจิตวิทยา หรือบุคลากรทางสาธารณสุขเพื่อท�ำการวินิจฉัยและช่วยเหลือ
ได้อย่างทันทว่ งท ี

3.	 โรคไบโพลาร์

       การน�ำเสนอรายละเอียดของโรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) ในที่น้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสร้าง
ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งเกย่ี วกบั การอาการของโรค เนอ่ื งจากในปจั จบุ นั มกี ารนำ� ไปใชใ้ นความหมายทค่ี ลาดเคลอื่ น
โดยมกั ใชค้ ำ� วา่ “ไบโพลาร”์ ในการเรยี กบคุ คลทม่ี อี ารมณแ์ ละพฤตกิ รรมไมค่ งท่ี หรอื มลี กั ษณะประเดยี๋ วดี
ประเดยี๋ วรา้ ย ซงึ่ ในความเปน็ จรงิ แลว้ บคุ คลทปี่ ว่ ยโรคไบโพลารห์ รอื เรยี กอกี ชอ่ื วา่ โรคอารมณส์ องขวั้ จะมี
อารมณ์ที่ร่าเริงมีความสุขเกินเหตุสลับกับอารมณ์ซึมเศร้าท่ีมากกว่าปกติ โดยแสดงออกผ่านทางค�ำพูด
ความคิด พฤติกรรมท่ีส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจ�ำวัน ประสิทธิภาพในการท�ำงาน และการรักษา
สัมพันธภาพกับผู้อ่ืน โรคไบโพลาร์มีสาเหตุจากหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็นพันธุกรรม ความผิดปกติของ
สารสือ่ ประสาท และจากการเผชญิ เหตกุ ารณ์ในชวี ิตท่ีรา้ ยแรง ความเครียด ความสูญเสยี ส่งิ สำ� คัญในชวี ติ
การใช้สารเสพติด รวมท้ังการมีบุคลิกภาพที่อาจเส่ียงต่อการเกิดภาวะอารมณ์เศร้า เช่น บุคคลท่ีมี
กระบวนการคดิ ที่บิดเบือน ประเมนิ ค่าตนเองต่ํา และมองโลกในแงร่ ้าย เปน็ ตน้ (กมลเนตร วรรณเสวก,
2558) จึงเปน็ โรคทแี่ สดงออกถึงความผิดปกตทิ างอารมณท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ การด�ำเนนิ ชีวติ

       อาการของบุคคลท่ีป่วยเป็นโรคไบโพลาร์น้ันจะมีลักษณะอารมณ์ที่เป็น 2 ข้ัวตรงข้ามกัน ใน
ขวั้ แรกหรอื ระยะแมนคิ (Manic episode) บคุ คลจะมอี ารมณไ์ ปในทางความสขุ ซง่ึ สามารถจำ� แนกอาการ
ได้ 3 ด้าน คอื (พิชยั อฏิ ฐสกุล, 2558)

       1) ด้านอารมณ์ จะรู้สึกมีความสุขมาก อารมณ์ดี พูดจามีอารมณ์ขัน ล้อเลียนผู้อ่ืน คึกคะนอง
ไม่ส�ำรวม มีการแสดงออกของอารมณ์หรอื ความต้องการอย่างขาดความยับยงั้ ชั่งใจ ไมค่ ่อยคำ� นงึ ถงึ ผ้อู ่ืน
หรือกฎเกณฑ์ของสังคม หากถกู ห้ามปรามหรอื ขัดขวางในส่ิงท่ีตนเองตอ้ งการจะหงุดหงิดและฉนุ เฉียว

       2) ด้านความคิด จะมีความคิดสร้างสรรค์เชื่อมโยงมากมาย รู้สึกว่าตนเองเก่งกาจและเป็นคนที่
ยง่ิ ใหญม่ คี วามสำ� คญั จงึ มโี ครงการจะทำ� กจิ การตา่ งๆ มากมายจนเกนิ ตวั และเชอื่ มน่ั ในตนเองมากรว่ มกบั
มีการตัดสินใจที่ไมเ่ หมาะสม ไม่ยอมรับฟังผู้อ่ืน เปลย่ี นความสนใจงา่ ย ความคดิ แล่นเรว็ บางรายทอี่ าการ
รุนแรงมากอาจมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอนโดยมักมีเนื้อหาเกี่ยวกับเร่ืองของอ�ำนาจวิเศษ ศาสนา
หรือบางครัง้ อาจมีลกั ษณะแปลกๆ เชน่ เดียวกบั ในโรคจติ เภท
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42