Page 38 - ทักษะชีวิต
P. 38
6-28 ทกั ษะชีวิต
3) ด้านพฤติกรรม จะรู้สึกคึกคัก มีก�ำลังวังชา มีพลังงานมาก ท�ำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น ขยัน
มากกว่าปกติ แตม่ ักทำ� ไดไ้ ม่ค่อยดี ความตอ้ งการนอนลดลง ชอบพดู คุยทกั ทายผอู้ ืน่ แมแ้ ต่กับคนแปลก
หนา้ พดู มาก พดู เรว็ จนสามารถขดั จงั หวะได้ หรอื พดู ไมห่ ยดุ มกี จิ กรรมทางเพศเพม่ิ ขน้ึ ใชจ้ า่ ยสนิ้ เปลอื ง
ขั้วทสี่ อง หรอื ระยะอารมณ์ซมึ เศร้า (major depressive episode) บคุ คลจะมีอารมณเ์ ศรา้ หดหู่
รสู้ กึ วา่ ชวี ติ ตนเองไมม่ คี ณุ คา่ ลงั เลในการตดั สนิ ใจ คดิ ชา้ ไมม่ สี มาธิ รสู้ กึ ออ่ นเพลยี ขาดแรงจงู ใจทจ่ี ะรเิ รม่ิ
งานใหม่ๆ
การสลบั ขวั้ อารมณข์ องระยะแมนคิ และระยะซมึ เศรา้ ไมไ่ ดส้ ลบั กนั ไดง้ า่ ย และมกี ารเกดิ ทไี่ มแ่ นน่ อน
บางระยะอาจจะอยู่นานเป็นปี บางระยะอาจจะอยู่สั้น การแสดงออกทางอารมณ์ ความคิดและพฤติกรรม
อาจมีการแสดงออกได้หลากหลายรูปแบบ หลายลักษณะ สง่ ผลใหบ้ คุ คลท่ปี ่วยเปน็ ไบโพลาร์มักจะไมร่ ้วู า่
ตนเองกำ� ลงั ป่วยอยู่ บุคคลอาจมกี ารแสดงพฤติกรรมบางอยา่ งจนเขา้ ใจว่าเป็นเรอ่ื งปกตแิ ละอาจก่อใหเ้ กิด
ผลกระทบต่อตนเองและคนรอบข้าง เช่น การใช้เงินอย่างไม่ยั้งคิดจนเกิดภาวะหน้ีสิน การแสดงอารมณ์
รุนแรงไมเ่ หมาะสมท�ำให้กระทบความสมั พนั ธ์กบั คนรอบข้าง อยา่ งไรก็ตาม แมโ้ รคไบโพลาร์จะเปน็ โรคที่
ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคลแต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาให้มีอาการดีขึ้นและหายได้ เพียงแต่ในการ
รกั ษาตอ้ งใชเ้ วลา จงึ ตอ้ งอาศยั ความเขา้ ใจ การยอมรบั และการใหโ้ อกาสจากครอบครวั และคนรอบขา้ ง รวมทง้ั
ความอดทนและความมวี นิ ยั ในกระบวนการรกั ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง กจ็ ะสามารถควบคมุ ความคดิ อารมณแ์ ละ
พฤติกรรมให้สามารถดำ� เนนิ ชีวิตอยา่ งมีความสุขไดอ้ ยา่ งคนทัว่ ไป
แนวทางในการดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคไบโพลาร์ ไบโพลารเ์ ปน็ โรคที่ต้องอาศยั ระยะเวลาพอ
สมควรในการรักษา ดว้ ยอาการของโรคอาจสง่ ผลใหผ้ ูป้ ่วยไมไ่ ดด้ แู ลตนเองไดอ้ ย่างสมบูรณ์ ในการรกั ษา
โรคไบโพลาร์จึงต้องอาศัยความร่วมมือและท�ำงานร่วมกันระหว่างแพทย์และคนในครอบครัวของ
ผู้ป่วยท่ีจะท�ำหน้าท่ีเปรียบเสมือนเป็นผู้ช่วยแพทย์ในการดูแลให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของ
แพทยไ์ ดอ้ ย่างเคร่งครดั ดังน้นั คนในครอบครวั จงึ ต้องมีความเข้าใจและสนับสนนุ ผปู้ ว่ ยใหไ้ ด้รบั การรักษา
อยา่ งตอ่ เนื่องดังแนวทางตอ่ ไปน้ี
1) สร้างความไว้วางใจแก่ผู้ป่วย เพื่อให้เข้าใจในความจ�ำเป็นของการรักษาและพาผู้ป่วยมาพบ
จิตแพทย์เพอ่ื ให้ไดร้ บั การรกั ษาอย่างถูกตอ้ ง
2) ท�ำความเข้าใจธรรมชาติของโรคไบโพลาร์ ยอมรับเรื่องท่ีเกิดข้ึนและให้ความร่วมมือกับ
จิตแพทยใ์ นกระบวนการรักษา
3) คอยสนบั สนนุ และใหก้ ำ� ลงั ใจผปู้ ว่ ยในการรบั ประทานยาใหค้ รบถว้ นอยา่ งเครง่ ครดั หา้ มตดั สนิ ใจ
ลดหรอื หยุดยาเอง ควรปรกึ ษาจิตแพทยเ์ พอ่ื ประเมินอาการก่อนการตดั สินใจทุกครั้ง
4) ชว่ ยสอดสอ่ งอาการและพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ รวมทง้ั ระมดั ระวงั ใหผ้ ปู้ ว่ ยหลกี เลยี่ งเครอ่ื งดมื่
แอลกอฮอล์ ยาเสพตดิ เพื่อป้องกันไม่ให้อาการกลบั มาก�ำเริบ
5) ปฏิบตั ิกับผปู้ ว่ ยดว้ ยความเขา้ ใจ ใจเยน็ รบั ฟังเมอื่ ผ้ปู ว่ ยมคี วามคบั ขอ้ งใจ ไมต่ ำ� หนิ ติเตียน
หรอื ด่าทอ