Page 55 - ทักษะชีวิต
P. 55
การจดั การอารมณ์ ความเครยี ดและปัญหาทางอารมณ์ 6-45
จากนนั้ ฝกึ ควบคมุ ตนเองวา่ จะทำ� หรอื ไมท่ ำ� พฤตกิ รรมใดหากมอี ารมณแ์ ละความรสู้ กึ เกดิ ขน้ึ รวมทง้ั
รู้จักปรับมุมมองเพ่ือมองหาแง่ดีของสถานการณ์ต่างๆ เพราะอารมณ์ความรู้สึกทางลบหรือความทุกข์ใจ
ไมไ่ ดเ้ กิดจากเหตกุ ารณห์ รอื สง่ิ รอบตวั เสมอไป แต่สิง่ ทสี่ รา้ งความทกุ ข์ในใจเรานัน้ มาจากมมุ มองของเราท่ี
มตี ่อสง่ิ ตา่ งๆ เราจึงไมค่ วรเกบ็ จำ� แตป่ ระสบการณ์ในดา้ นลบมาบนั่ ทอนจิตใจ แตค่ วรลองพยายามเปลย่ี น
มุมมอง ลองมองหาแง่ดีในส่ิงที่ท�ำให้รู้สึกไม่พอใจเหล่านั้น มองปัญหาเป็นความท้าทายหรือเป็นโอกาส
ท่ที ำ� ใหไ้ ดเ้ รยี นรู้ เพ่อื ให้เราได้พัฒนาตนเองและผา่ นพ้นปญั หานน้ั ตอ่ ไป
ผหู้ ญงิ คนหนงึ่ โทรศพั ทไ์ ปหาแฟนในชว่ งคำ่� แลว้ พบวา่ แฟนไมร่ บั โทรศพั ท์ จากสถานการณน์ หี้ าก
มองวา่ การทแี่ ฟนไมร่ บั โทรศพั ทเ์ ปน็ เพราะแฟนกำ� ลงั อยกู่ บั ผหู้ ญงิ คนอน่ื หรอื กำ� ลงั ออกไปสงั สรรคก์ บั เพอ่ื น
แนน่ อนวา่ การมองในลกั ษณะนจี้ ะทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ คนนเ้ี กดิ ความวา้ วนุ่ ในจติ ใจ อาจแสดงอารมณ์ พฤตกิ รรมที่
ไมเ่ หมาะสมและกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาความสมั พนั ธ์ ทงั้ ทใ่ี นความเปน็ จรงิ แฟนหนมุ่ ของเธออาจจะไมไ่ ดท้ ำ� อะไร
ทอ่ี อกนอกลนู่ อกทางได้ แตใ่ นทางกลบั กนั หากลองเปลย่ี นไมม่ องในดา้ นลบ โดยมองดา้ นบวกวา่ การทแ่ี ฟน
ไม่รับโทรศัพท์อาจเป็นเพราะแฟนก�ำลังมีงานติดพันหรือก�ำลังเดินทางกลับบ้านและไม่สะดวกจึงไม่ได้รับ
โทรศัพท์ ผู้หญิงคนนี้ก็จะมีอารมณ์ท่ีปกติ และไม่ได้แสดงพฤติกรรมอะไรนอกจากรอแฟนโทรกลับมา
ปญั หาในความสมั พนั ธก์ จ็ ะไมเ่ กดิ ขน้ึ สถานการณน์ จี้ งึ เปน็ ตวั อยา่ งใหเ้ หน็ วา่ คนเราจะสขุ จะทกุ ขข์ น้ึ อยกู่ บั
มมุ ทใี่ จเราเลือกมอง เลอื กที่จะรบั รู้ เลอื กทจี่ ะเชอ่ื นั่นเอง
2. การฝึกหายใจ
เมื่อบุคคลมีปัญหาทางอารมณ์และสุขภาพจิตอาจจะมีผลต่อการหายใจ เช่น อาการหายใจหอบ
หายใจติดขัด หายใจไม่อ่ิม การควบคุมการหายใจให้เหมาะสม การฝึกหายใจอย่างมีคุณภาพจะช่วยให้
ร่างกายได้รับก๊าซออกซิเจนไปหล่อเล้ียงภายในร่างกายอย่างเพียงพอและช่วยบ�ำบัดโรคต่างๆ เช่น โรค
ความดนั โลหติ สงู หอบหดื ภมู แิ พ้ โรควติ กกงั วลและนอนไมห่ ลบั เทคนคิ การหายใจทจ่ี ะนำ� เสนอในตอนนี้
ประกอบดว้ ย
2.1 การหายใจด้วยกะบังลม เปน็ วธิ กี ารหายใจเขา้ และออกโดยใชก้ ะบงั ลมเปน็ สำ� คญั ซงึ่ สามารถ
ใชเ้ มอื่ เกดิ ความเครยี ด มอี าการวติ กกงั วล นอนไมห่ ลบั วธิ กี ารนจ้ี ะชว่ ยใหร้ า่ งกายผอ่ นคลาย โดยสามารถ
ท�ำควบคู่กบั การผอ่ นคลายกลา้ มเน้อื และร่วมกับการใช้พฤตกิ รรมบ�ำบัดในการรกั ษาโรคทางจิตใจได้ โดย
มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิ คอื พยายามผอ่ นคลายรา่ งกายในทกุ สว่ นโดยนงั่ ในทา่ ทสี่ บายๆ ในทเี่ งยี บปราศจากสงิ่ รบกวน
จากนน้ั หายใจชา้ ๆ เปน็ จงั หวะ โดยหายใจเขา้ ชา้ ๆ และปลอ่ ยลมหายใจใหท้ ว่ั บรเิ วณทอ้ งจนรสู้ กึ วา่ หนา้ ทอ้ ง
ขยาย จากน้ันคอ่ ยๆ หายใจออกให้หน้าท้องแฟบลง โดยทำ� เชน่ น้ี 10–20 ครั้ง วิธกี ารนสี้ ามารถปฏบิ ัตไิ ด้
ทกุ วันและทุกโอกาส
2.2 การหายใจแบบปราณายามะ เป็นวิธีการเพ่งสมาธิไปท่ีลมหายใจ โดยมีวิธีการปฏิบัติ คือ
นั่งในท่าท่ีสบาย หลังตรงและไหล่ผ่อนคลาย จากน้ันหลับตาและเพ่งสมาธิไปท่ีลมหายใจเข้าและออก
โดยหายใจเข้าใหร้ ู้สึกว่าลมหายใจผ่านเขา้ รูจมูก ใหอ้ ากาศตรงเขา้ ไปที่กลา้ มเนื้อหน้าทอ้ ง พาลมหายใจไป
ทป่ี อด ให้รู้สกึ ว่าซี่โครงขยายออก ระวงั อยา่ ยกไหล่ จากน้นั หายใจออกผา่ นรูจมกู ให้รสู้ ึกวา่ ไดผ้ อ่ นคลาย
ทรวงอกและกล้ามเน้อื ท้องเตม็ ที่ ควรปฏบิ ตั ทิ กุ วนั วนั ละ 5-10 นาที และค่อยๆ เพ่มิ เวลาขึน้ เรือ่ ยๆ ให้